ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ และ สังเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

แบบทดสอบกลางภาคประวัติ ฯ ส23105

เฉลย ประวัติฯ ส23105

ตัวอย่าง เด็กหญิงมารยาท  เรียบร้อย

เลขที่   0           ห้อง 00

ตัวอย่าง เลขที่  3  ห้อง   ม. 3/1

คำชี้แจง  แบบทดสอบมี 2 ตอน  40 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว

๑. หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไร

๑. ทำให้รู้เรื่องราวในอดีต

๒. ทำให้มีความรู้รอบตัวมากขึ้น

๓. ทำให้เรียนประวัติศาสตร์ได้ง่ายขึ้น

๔. ทำให้คนสนใจประวัติศาสตร์มากขึ้น

๒. จดหมายเล่าเรื่องต่าง ๆ และหนังสือพิมพ์ที่รายงานข่าวเป็นหลักฐานประเภทใด

๔. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

๓. ข้อใดไม่ใช่ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร

๒. พระราชพงศาวดารกรุงสยาม

๓. จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

๔. ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

๔. งานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ เรียกว่าอะไร

๕. หนังสือเรียนประวัติศาสตร์จัดเป็นหลักฐานประเภทใด

๔. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

๖. วีดิทัศน์การรายงานสดเป็นหลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานชั้นรอง

๑. เป็นหลักฐานชั้นต้น เพราะถ่ายทำตอนที่เกิดเหตุการณ์นั้น

๒. เป็นหลักฐานชั้นต้น เพราะถ่ายทำตอนที่เหตุการณ์สิ้นสุดลงแล้ว

๓. เป็นหลักฐานชั้นรอง เพราะถ่ายทำหลังจากเกิดเหตุการณ์ไปแล้ว

๔. เป็นหลักฐานชั้นรอง เพราะถ่ายทำขึ้นเพื่อเล่าเรื่องราวในอดีต

๗. หลักฐานทางประวัติศาสตร์จำแนกตามความสำคัญของหลักฐานเป็นประเภทใดบ้าง

๑. หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง

๒. หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์และหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์

๓. หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นและหลักฐานที่มนุษย์ไม่ได้ตั้งใจสร้าง

๔. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

๘. ต่อไปนี้เป็นพระราชพงศาวดารในสมัยอยุธยาและธนบุรีที่ชำระในสมัยรัตนโกสินทร์ ยกเว้นข้อใด

๒. พระราชพงศาวดารกรุงสยามจากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม

๓. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)

๔. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับสมเด็จพระพนรัตน์

๙. “เป็นบันทึกร่วมสมัยหรือบันทึกจากความทรงจำที่ผู้บันทึกเป็นผู้ที่มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์” เป็นหลักฐานประเภทใด

๑๐. “หนังสือเรื่อง ความทรงจำ” เป็นหลักฐานประเภทใด

๔. ชีวประวัติและอัตชีวประวัติ

๑๑. หนังสือพิมพ์ที่รายงานข่าวเป็นหลักฐานประเภทใด

๔. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

๑๒. ข้อใดเป็นจดหมายส่วนตัว

๑๓. “กฎหมายมีความสำคัญอย่างไร” จัดอยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

๔. การตรวจสอบและประเมินคุณค่าของหลักฐาน

๑๔. ข้อใดไม่ใช่ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์

๒. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา

๓. การคาดคะเนคำตอบของปัญหา

๔. การตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมินคุณค่า

๑๕. “การสอบถามพ่อแม่ว่าบรรพบุรุษของเรามาจากที่ไหน พ่อแม่ก็จะเล่าเรื่องราวให้เราฟัง” อยู่ในขั้นตอนในของวิธีการทางประวัติศาสตร์

๔. การตรวจสอบและประเมินคุณค่าของหลักฐาน

๑๖. “น้อยสัมภาษณ์คนที่มีส่วนร่วมในเหตุการณ์วันมหาวิปโยค” อยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

๔. การตรวจสอบและประเมินคุณค่าของหลักฐาน

๑๗. “อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยสร้างขึ้นเมื่อไร” อยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

๑. การตีความขั้นทุติยภูมิ

๒. การตรวจสอบและประเมินคุณค่าภายใน

๓. การตรวจสอบและประเมินคุณค่าภายนอก

๑๘. การพิจารณาว่า  “หลักฐานชิ้นนั้นคืออะไร มีลวดลายแบบใด” เป็นการตีความขั้นใด

๔. การตีความตามความเป็นจริง

๑๙. “การค้นหาความหมายและข้อเท็จจริงบางอย่างที่แอบแฝงอยู่ในหลักฐานนั้น ๆ ไม่ว่าผู้เขียนหรือผู้สร้างหลักฐานจะมีเจตนาที่จะสื่อออกมาหรือไม่ก็ตาม” ข้อความนี้เป็นการตีความขั้นใด

๔. การตีความตามความเป็นจริง

๒๐. “วิธีการศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในอดีต อาศัยการตีความจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์” ข้อความนี้เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร

๑.วิธีการทางประวัติศาสตร์

๒.ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์

๓.หลักฐานทางประวัติศาสตร์

๔.เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

๒๑. ถ้าจะศึกษาหลักฐานทางด้านทางด้านนาฏศิลป์ – ดนตรี  ควรไปศึกษาจากแหล่งใด มากที่สุด

๔. ผู้เชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์ – ดนตรี

๒๒. ถ้าหน่อยต้องการศึกษาประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนแรกควรทำอย่างไร

๑. เก็บข้อมูลจากศิลาจารึก

๒) กำหนดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา

๓. ตรวจสอบหลักฐานว่าเป็นของจริงหรือปลอม

๔. รวบรวมวิเคราะห์  สังเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐาน

๒๓. การจดบันทึกข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ทั้งข้อมูลและแหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง  เพื่อการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ อยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์ (O-net ปี ๕๒)

๒๔. คำว่า "บางกอก" นั้น มีข้อสันนิษฐานว่าอาจมาจากการที่แม่น้ำเจ้าพระยาคดเคี้ยวไปมา บางแห่งมีสภาพเป็นเกาะเป็นโคก จึงเรียกกันว่า "บางเกาะ" หรือ "บางโคก"หรือไม่ก็เป็นเพราะบริเวณนี้มีต้นมะกอกอยู่มาก จึงเรียกว่า "บางมะกอก" โดยคำว่า "บางมะกอก" มาจากวัดอรุณ ซึ่งเป็นชื่อเดิมของวัดดังกล่าว และต่อมากร่อนคำลงจึงเหลือแต่คำว่าบางกอกข้อความข้างต้นนี้เชื่อถือได้มากน้อยเพียงไร และสามารถนำขั้นตอนใดที่สำคัญที่สุดของวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ (O-net ปี ๕๒)

๑.  เชื่อถือไม่ได้ และต้องรวบรวมข้อมูลก่อน

๒. เชื่อถือได้ และดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

๓. เชื่อถือไม่ได้ และควรสรุปข้อมูลก่อน

๔. เชื่อถือได้ และดำเนินการตั้งสมมติฐานต่อไป

๒๕. “พุดซ้อนสาวชาวลาวพบแผ่นทองสลักอักขระโบราณคล้ายภาษาขอมบริเวณแคว้นจำปาศักดิ์” ข้อความนี้จะใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในอนาคตได้หรือไม่ (O-net / ๕๗)

๑. ไม่ได้ เพราะเป็นหลักฐานชั้นรอง

๒. ไม่ได้ เพราะผู้พบไม่ใช่นักโบราณคดี

๓. ได้ แต่ต้องตั้งประเด็นปัญหา

๔. ได้ แต่ต้องประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

๒๖. ข้อใดคือหลักฐานชั้นต้นที่ควรใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ การเสด็จประพาสต้น (O-net ปี ๕๓)

๑. สารคดี  ชุด ๑๐๐ ปี  ไกลบ้าน

๒. พระราชนิพนธ์  เรื่อง ไกลบ้าน

๓. พระราชหัตถเลขา  และภาพถ่ายฝีพระหัตถ์จากการเดินทาง

๔. หนังสือเรื่อง ความทรงจำจากพระพุทธเจ้าหลวง โดย  ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์

๒๗. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใด ที่น่าเชื่อถือ น้อยที่สุด (O-net ปี ๕๕)

๒๘. การศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์  ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใด (O-net ปี ๕๖)

๒. ศิลาจารึก และเครื่องปั้นดินเผา

๓. เครื่องปั้นดินเผาและภาพเขียน

๒๙. “ราชสำนักสยามและจีนมีความสัมพันธภาพที่แน่นแฟ้น สยามแต่งสำเภาเดินทางไปค้าขายกับจีน ปีละมากลำ  ยุคสมัยของพระองค์นับเป็นยุคทองของการค้าขาย” ข้อความนี้อยู่ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์  (O-net ปี ๕๖)

 ๓๐. “วิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ไทยกับฝรั่งเศสสู้รบกันเนื่องจากการที่ฝรั่งเศสต้องการดินแดนลาว” ข้อความนี้เป็นวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนใด

๑. การสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์

๒. การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์

๓.  การสังเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์

๔. การสรุปและเชื่อมโยงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

ตอนที่ ๒  นักเรียนบอกประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ถูกต้อง โดยเลือกจากที่กำหนดให้ *

๓๑. งานวิจัยทางประวัติศาสตร์

๓๓. จารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

๓๕. จิตรกรรมฝาผนังที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

๓๖. ภาพยนตร์เรื่องสุริโยทัย

๓๗. เครื่องสังคโลกสมัยสุโขทัย

๓๘. บันทึกเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ

Never submit passwords through Google Forms.