ข้อ ใด ไม่ใช่ ประโยชน์ ของ การ ศึกษา ประวัติ บุคคล สํา คั ญ ใน วงการ นาฏศิลป์

นางสาวสุพรรษา ทองเปลว

ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ

โรงเรียนซับนกแก้ววิทยา

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ค าน า

หนังสืออเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชานาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษา

ื่
ปีที่ 4 เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์เล่มนี้ จัดท าขึ้นเพอใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมุ่งให้นักเรียนมีความรู้ ความเขาใจในเรื่องบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

ประโยชน์ของการเรียนนาฏศิลป์ เนื้อหาและกิจกรรมที่ปรากฏในหนังสืออเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เล่มนี้

มีความยากง่าย ตามระดับความสามารถของผู้เรียนและสอดคล้องกับเนื้อหาในหลักสูตร กิจกรรมย่อย


ต่าง ๆ จะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้พฒนาทักษะการเรียนนาฏศิลป์ของตนเองอย่างเป็นระบบ และมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


ผู้จัดท าขอขอบคุณนายวิชิต ลือพช ผู้อานวยการโรงเรียน และคณะครูโรงเรียนซับนกแก้ววิทยา
อกทั้งนักเรียนทุกคนที่เป็นแรงบันดาลใจในการพฒนาการเรียนการสอนและผู้สนับสนุนทุกท่าน




ที่ช่วยในการพฒนาหนังสืออเล็กทรอนิกส์ (E-book) รายวิชานาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์เล่มนี้ จนส าเร็จได้ด้วยดี

สุพรรษา ทองเปลว

สารบัญ

เรื่อง หน้า

ค าน า................................................................................................................................. ก

สารบัญ............................................................................................................................. ข
ค าแนะน าส าหรับครูในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)........................................ ค

ค าแนะน าส าหรับนักเรียนในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) .............................. ง

สาระส าคัญ...................................................................................................................... จ
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด............................................................................................................. จ

จุดประสงค์การเรียนรู้....................................................................................................... จ
สาระการเรียนรู้................................................................................................................ ฉ

เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์............................................ 1
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์........................................................... 4

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์............................................................ 23

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง สรุปความส าคัญของประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย........ 29
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์............................................ 31

บรรณานุกรม…………………………………………………………………….……………………………………… 34

ค าแนะน าส าหรับครูในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)

1. ครูผู้สอนควรศึกษาเนื้อหา และลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้เข้าใจชัดเจนอย่างละเอียด

ก่อนน าไปใช้

2. ครูผู้สอนควรตรวจดูเอกสาร และเตรียมสื่อการเรียนรู้ให้เรียบร้อยทุกครั้งกอนน าไปใช้
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. ครูผู้สอนจัดชั้นเรียนให้เหมาะสมและสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

4. ให้นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียนก่อนด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนในแต่ละเรื่อง

5. ด าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนที่ก าหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ตามล าดับขั้น
6. ขณะด าเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรสังเกตการร่วมกิจกรรม และการปฏิบัติงาน

ของนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ความช่วยเหลือหรือให้ค าแนะน าเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น
7. ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียนเมื่อจบกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละเรื่อง

บทบาทของครูผู้สอน

1. ให้นักเรียนศึกษาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ด้วยตนเอง

2. แนะน าวิธีการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)
3. ควบคุมและกระตุ้นนักเรียนเรียนรู้โดยใช้ข้อค าถาม

นักเรียนคนใดยังไม่เข้าใจวิธีการใช้

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)

สามารถยกมือสอบถามคุณครู
ได้เลยคับ

ค าแนะน าส าหรับนักเรียนในการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)

1. นักเรียนศึกษาปุ่มที่ใช้ท างาน ให้เข้าใจจากแผ่นซีดีรอมของแต่ละเรื่อง

2. นักเรียนควรปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามล าดับ ด้วยความตั้งใจจนเกิดความรู้ความเข้าใจ
ื่
3. ในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมนักเรียนควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพอน ๆ และครู
4. นักเรียนควรมีวินัยในตนเอง ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ

5. เมื่อเกิดปัญหา หรือเกิดความสงสัยเนื้อหาส่วนใด สามารถขอค าปรึกษาหรือค าแนะน าจากครูได้
6. นักเรียนควรประเมินและปรับปรุงตนเองอย่างต่อเนื่องจากการท าใบกิจกรรม และแบบทดสอบ

ศึกษาวิธีการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เข้าใจแล้ว

เริ่มปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามล าดับ

ด้วยความตั้งใจนะคะ

สาระส าคัญ

การแสดงนาฏศิลป์และการละครไทยมีวิวัฒนาการจากอดีตมาถึงปัจจุบัน ท าให้การนาฏศิลป์

และการละครไทยพฒนามากขึ้น และยังคงอยู่เป็นที่รู้จัก ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์และการละครไทยจะมี

การพฒนาหรือสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ ๆ ได้นั้นก็ขึ้นอยู่กับบุคคลส าคัญของวงการนาฏศิลป์และละครไทย

ด้วย เพราะบุคคลเหล่านี้เป็นทั้งผู้สร้าง ส่งเสริม และสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์และละครไทยให้เป็นที่
รู้จักมาจนปัจจุบัน

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด

สาระที่ 3 นาฏศิลป์

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทยและสากล

ตัวชี้วัด ศ 3.2 ม.4-6/2 อภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการละคร

ของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ
ศ 3.2 ม.4-6/3 บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย ตั้งแต่อดีตจนถึง

ปัจจุบัน

จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

นักเรียนสามารถอภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์และการละคร
ของประเทศไทยในยุคสมัยต่างๆ ได้

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

ใช้ทักษะกระบวนการกลุ่ม

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

1. มีวินัย

2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน

สาระการเรียนรู้

บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

1

แบบทดสอบก่อนเรียน

เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวแล้วท าเครื่องหมายกากบาท ()
ลงในกระดาษค าตอบ ข้อสอบจ านวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที (10 คะแนน)

1. บุคคลที่ได้เข้ารับการฝึกหัดละครใน จากคุณท้าววรจันทร์บรมธรรมิกภักดี (เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4)
ก. นางลมุล ยมะคุปต์

ข. นายอาคม สายาคม
ค. นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

ง. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

2. ผู้ที่เข้ารับราชการในต าแหน่งโขนหลวง กองมหรสพ ในรัชกาลที่ 7 และต่อมาได้โอนมารับราชการเป็น
ศิลปินของกรมศิลปากรโดยแสดงเป็นตัวเอก คือบุคคลใด

ก. นางลมุล ยมะคุปต์
ข. นายอาคม สายาคม

ค. นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

ง. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
3.บุคคลใดที่น าเอาวิธีการแสดงละคร “บังสาวัน” มาดัดแปลงและปรับปรุงขึ้นใหม่เรียกว่า “ละครร้อง”

ก. หลวงวิจิตรวาทการ

ข. นายอาคม สายาคม
ค. นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก


ง. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์
4. ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ ระบ าร่อนแร่
ก. นางสาวสัมพันธ์ พันธุ์มณ ี

ข. นางสาวจ าเรียง พุธประดับ
ค. นางสาวรัจนา พวงประยงค์

ง. นางสาวปราณี ส าราญวงศ์

2

5. อาจารย์เสรี หวังในธรรมได้จัดรายการเกี่ยวกับการแสดงต่างๆ ชื่อรายการอะไร

ก. นาฏยนาฏกรรม

ข. ศิลปะนาฏกรรม
ค. ศรีสุขนาฏกรรม

ง. สีสันนาฏกรรม

6. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการศึกษาประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย
ก. ท าให้ทราบถึงความส าคัญของนาฏศิลป์ไทย

ข. ได้มีแรงบันดาลใจในการเรียนนาฏศิลป์
ค. ได้รู้ถึงแนวทางในการประกอบอาชีพ

ง. ทุกข้อล้วนแต่เป็นประโยชน์ทั้งสิ้น

7. บุคคลในข้อใดได้รับการยกย่องว่าเป็น “พระบิดาแห่งละครร้อง”
ก. ครูอาคม สายาคม

ข. ครูมัลลี คงประภัศร์
ค. หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์) ภัทรนาวิก

ง. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

8. นางลมุล ยมะคุปต์ มีบทบาทที่ส าคัญต่อวงการนาฏศิลป์ไทย
ก. เป็น “ปรมาจารย์แห่งนาฏศิลป์ไทย”

ข. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าร าแม่บทสลับค า

ค. เป็นผู้ร่างหลักสูตรการเรียนให้กับวิทยาลัยนาฏศิลป ์
ง. เป็นผู้มีความสามารถร าเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ

9. บุคคลในข้อใด เป็นศิลปินที่เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์โขน
ก. นายกรี วรศะริน

ข. ครูเฉลย ศุขะวณิช

ค. ครูจ าเรียง พุธประดับ
ง. ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)

10. บุคคลในข้อใดได้รับการยกย่องว่าเป็น “ปรมาจารย์แห่งนาฏศิลป์ไทย”
ก. ครูนางลมุล ยมะคุปต์

ข. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

ค. ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)
ง. หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์) ภัทรนาวิก

3

กระดาษค าตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

ชื่อ...................................................เลขที่.............ชั้น...................

แบบทดสอบก่อนเรียน

ค าตอบ
ข้อ ก ข ค ง คะแนน

1

2
3

4

5
6

7

8
9

10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

คะแนนที่ได้

ผ่าน  หมายถึง ได้คะแนน 8 คะแนน ขึ้นไป

ไม่ผ่าน  หมายถึง ได้คะแนนต่ ากว่า 8 คะแนน

4

ใบความรู้ที่ 2

เรื่อง บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของไทยในสมัยต่างๆ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์


พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายวรวรรณากร
ประสูติเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 พระองค์เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาเขียน และทรงเป็นต้นราชสกุล วรวรรณ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์ได้รับยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทางวิทยาการ

เพราะพระองค์ทรงเป็นทั้งกวีและศิลปิน พระองค์ทรงมีแนวคิดในการสร้างละครรูปแบบใหม่ ทรงน าเอา

วิธีการแสดงละคร “บังสาวัน” มาดัดแปลงและปรับปรุงขึ้นใหม่เรียกว่า “ละครร้อง” พระองค์ทรงได้รับ
ยกย่องว่าเป็น “พระบิดาแห่งละครร้อง” ทรงตั้งคณะละครชื่อว่า “คณะละครนฤมิตร” หรือ “ละคร


หม่อมหลวงต่วน” โดยมีผู้ที่ช่วยในการก่อตั้งอกสองคน คือ เจ้าจอมมารดาเขียน และหม่อมหลวงต่วน
ศรี วรวรรณ ณ อยุธยา ละครเรื่องแรกที่คณะละครนฤมิตรแสดง คือเรื่อง “อาหรับราตรี” ต่อมาพระเจ้า
บรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงไม่มีเวลาว่าง ติดราชการต่างๆ จึงท าให้คณะละครนฤมิตร

ได้เลิกไป ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม
พระนราธิปประพันธ์พงศ์จัดการแสดงละครถวายเพอเป็นการท าขวัญต้นลิ้นจี่ ตามที่พระองค์เคยตรัสไว้ว่า
ื่
ถ้าหากต้นลิ้นจี่ออกผลเมื่อใดจะทรงหาละครหม่อมต่วนมาท าขวัญ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาคณะละครนฤมิตร

จึงจัดตั้งขึ้นอีกครั้งในพระบรมราชูปถัมภ์ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ
พระราชทานให้เป็นละครหลวง จึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น “คณะละครหลวงนฤมิตร” ละครหลวงนฤมิตรได้

จัดแสดงในพระราชฐานบ่อยครั้งและเป็นที่ชื่นชอบของเจ้านายฝ่ายในและบรรดาชาววัง
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 ตุลามคม 2474

ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 7 สิริรวมพระชันษาได้ 70 ปี


คณะละครปรีดาลัย เป็นคณะละครของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์
มีพระนามเดิมว่า "พระองค์เจ้าวรวรรณากร" ทรงเป็นพระราชโอรสล าดับที่ 56 ในเจ้าจอมมารดาเขียน

ประสูติเมื่อวันพธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าให้ด ารงต าแหน่ง

รองเสนาบดีกรมพระคลังมหาสมบัติ ผลงานโดดเด่นของพระองค์ก็คือ ทรงเป็นผู้บุกเบิกละครร้องเป็น

5

ครั้งแรกในเมืองไทย โดยทรงแก้ไขปรับปรุงละครบังสาวัน ที่ได้เข้ามาแสดงที่กรุงเทพ แล้วก่อตั้ง "คณะละคร

ปรีดาลัย" ละครปรีดาลัยเป็นละครร้องสลับพูด เป็นละครร้องเล่นที่โรงละคร ปรีดาลัย (เดิมสร้างอยู่ในวัง

ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ถนนตะนาว) คณะละครปรีดาลัยในต่อมาภายหลัง
ได้เปลี่ยนเรียกชื่อว่า "ละครหลวงนฤมิตร" บางครั้งคนยังนิยมเรียกว่า "ละครปรีดาลัย" อยู่งานพระนิพนธ์


ที่มีชื่อเสียงของพระองค์จนเป็นที่เกรียวกราวในสมัยรัชกาลที่ 5 ก็คือละคร "สาวเครือฟา" ทรงได้รับ
พระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งการละครร้อง" เสด็จในกรมสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 11
ตุลาคม พ.ศ. 2474 มีพระชันษา 70 ปี และหนึ่งในพระธิดาของท่านที่ทรงได้เป็นถึงพระมเหสีในพระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวก็คือ "พระนางเธอลักษมีลาวัลย์" ซึ่งได้รับการยกย่องว่า ทรงเป็นกุลสตรีที่งาม
เพริศพริ้งที่สุดในยุคนั้น นอกจากนั้นยังทรงได้สืบทอดการละครต่อจากพระบิดาในเวลาต่อมา พระเจ้า

บรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงเป็นองค์ต้นราชสกุล "วรวรรณ ณ อยุธยา"

ภาพประกอบ 1.15 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
ที่มา : https://i.pinimg.com/originals/c9/d1/a9/c9d1a92c63c3a199d4c6999f60c625c3.jpg

6

ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงนาฏศิลป์

นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก มีชื่อเดิมว่า ด่วน เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2426

ี่
เป็นธิดาของนายกลั่น กับนางล าไย ภัทรนาวิก มีพน้องทั้งหมด 5 คน เมื่อบิดาถึงแก่กรรม มารดาจึงพา
ไปอาศัยอยู่กับนางจาด แถวสี่แยกบ้านหม้อ เมื่อนางศุภลักษณ์อายุได้ 9 ปี ได้เข้ารับฝึกหัดละครที่บ้าน

เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ได้ฝึกหัดละครจนเป็นตัวนางที่มีฝีมือในการรา และเป็นที่เมตตาของเจ้าพระยา

เทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ จนกระทั่งอายุ 16 ปี จึงได้เป็นหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์
นางศุภลักษณ์มีความจ าดีเลิศ สามารถท่องจ าบทร้องและบทเจรจาของตัวละครที่เล่นได้ทุกตัว

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์จึงโปรดให้นางศุภลักษณ์ฝึกหัดแสดงเป็นตัวนางยุบล (ค่อม)
ในเรื่องอเหนา และตัวนางในเรื่องอณรุท ซึ่งนางศุภลักษณ์ได้ฝึกฝนและแสดงเป็นอย่างดีโดยเฉพาะบท


นางยุบล (ค่อม) ซึ่งนางศุภลักษณ์ยังได้น ามาถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ในโรงเรียนนาฏศิลป์ (วิทยาลัยนาฏศิลป์

ในปัจจุบัน)
นางศุภลักษณ์นั้นได้เริ่มช่วยสอนนาฏศิลป์ตั้งแต่อยู่ที่บ้านเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ ต่อมา


พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ตั้งกรมพณพาทย์และโขนหลวงขึ้นมาใหม่ คุณหญิงเทศ นัฎกานุรักษ์
จึงชักชวนให้นางศุภลักษณ์มารับราชการในกรม และมอบหมายให้เป็นคนฝึกหัดการแสดง ละครดึกด าบรรพ ์
และละครหลวง ต่อมาเมื่อกระทรวงถูกยุบนางศุภลักษณ์ จึงต้องออกจากราชการ

ใน พ.ศ. 2478 มีการจัดตั้งกรมศิลปากรขึ้นมาแทนกรมมหรสพ มีพลตรี หลวงวิจิตรวาทการ
ด ารงต าแหน่งเป็นอธิบดี จึงได้เชิญนางศุภลักษณ์ มาเป็นครูพร้อมกับนางลมุล ยมะคุปต์ นางศุภลักษณ์

ได้รับราชการที่โรงเรียนนาฏศิลป์หรือวิทยาลัยนาฏศิลปจนกระทั่งถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน

2499

7

ภาพประกอบ 1.16 ครูมัลลี คงประภัศร์

ที่มา : http://www.monnut.com/board/index.php?topic=2261.0

ภาพประกอบ 1.17 หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์) ภัทรนาวิก
ที่มา : http://www.monnut.com/board/index.php?topic=2261.0

8

นางลมุล ยมะคุปต์

นางลมุล ยมะคุปต์ เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2448 เป็นธิดาของร้อยโท นายแพทย์ จีน

กันนางค ามอย อญธัญภาติ เป็นชาวจังหวัดน่าน เข้ารับการศึกษาวิชาสามัญที่โรงเรียนสตรีวิทยา เมื่อ


อายุ 5 ปี ได้ถวายตัวฝึกหัดเป็นนางละคร ณ วังสวนกุหลาบ ของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟาอษฎางค์

เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และได้กราบบังคมทูลลาจากวังสวนกุหลาบไปรับพระราชทานสนอง

พระราชกรุณาเป็นนางละครใน ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์


ื่

อนทราชัย ณ วังเพชรบูรณ์ พร้อมกับเพอนละครอกหลายท่าน นางลมุล ได้แสดงเป็นตัวเอกในละคร
หลายเรื่อง เช่น เรื่องอิเหนา แสดงเป็นอิเหนา สียะตรา สังคามาระตา วิหยาสะก า เรื่องอุณรุท แสดงเป็น

อณรุท เรื่อง รามเกียรติ์แสดงเป็นพระราม พระมงกุฎ อนทรชิต เรื่องสังข์ทอง แสดงเป็นพระสังข์ เจ้าเงาะ

เรื่อง เงาะป่า แสดงเป็นชมพลาฮเนา เรื่องพระลอ แสดงเป็นพระลอ เป็นต้น
นางลมุลมีบทบาทที่ส าคัญต่อวงการนาฏศิลป์ไทย คือ เป็นผู้ร่างหลักสูตรการเรียนให้กับวิทยาลัย
นาฏศิลป เพื่อที่จะท าให้การเรียนการสอนนาฏศิลป์นั้นมีขั้นตอนในการฝึกหัด จึงนับได้ว่า นาง ลมุล ยมะคุปต์

เป็นบุคคลที่มีความส าคัญต่อวงการนาฏศิลป์ไทยอย่างยิ่ง

นางลมุล ยมะคุปต์ ถึงแก่กรรมด้วยภาวะระบบหัวใจล้อมเหลว เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ 2526
สิริรวมอายุได้ 77 ปี 7 เดือน 28 วัน (ผู้เชี่ยวชาญการสอนและวางหลักสูตรการเรียนการสอน นาฏศิลป์)

ภาพประกอบ 1.17 ครูนางลมุล ยมะคุปต์
ที่มา : https://sites.google.com/site/ajanthus/_/rsrc/1472784232415/nang-lmul/01-

072.jpg?height=400&width=284

9

ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี มีชื่อเดิมว่า แผ้ว สุทธิบูรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2446

เป็นธิดาของนายเฮง กับนางสุทธิ สุทธิบูรณ์ เมื่ออายุ 8 ปี ได้เข้ารับการฝึกหัดละครใน วังสวนกุหลาบ


และวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์
ต่อมาได้ถวายตัวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

และได้รับการฝึกหัดจากคุณท้าววรจันทร์บรมธรรมิกภักดี (เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4) ซึ่งเป็นครูที่มี
ความส าคัญกับท่านผู้หญิงแผ้ว เจ้าจอมมารดาเขียน เจ้าจอมมารดาทับทิม หม่อมแย้ม และ หม่อมอง
ึ่
จนสามารถแสดงละครเป็นตัวเอก และมีโอกาสได้แสดงถวายหน้าพระทนั่งพระบาทสมเด็จพระมงกฎเกล้า

ี่
เจ้าอยู่หัวหลายครั้ง
ท่านผู้หญิงแผ้วได้แสดงเป็นตัวอิเหนา นางดรสา พระพิราพ นางเมขลา เป็นต้น และมีความสามารถ

ในการร าอาวุธได้อย่างเชี่ยวชาญ คือ กระบี่ ทวน และกริช อีกทงยังได้น าเอานาฏศิลป์ ของต่างชาติเข้ามา
ั้
ผสมผสานกับนาฏศิลป์ไทย ท่านยังได้ประดิษฐ์การแสดงไว้หลายชุดการแสดงด้วยกัน เช่น ร ามโนห์รา

ตอนบูชายัญ โดยท่านได้แปลงท่ามาจากร าดรสาแบหลา ร าไทยจีนไมตรี ร าเถิดเทิง ระบ าโบราณคดีชุด

สุโขทัย ระบ าครุฑ ระบ านพรัตน์ ฟ้อนลาวดวงเดือน ฟ้อนมาลัย เป็นต้น
ท่านผู้หญิงแผ้วได้รับเหรียญดุษฎีมาลา หรือเข็มศิลปวิทยา ซึ่งเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่แสดงถึง

เกียรติสูงสุด ท่านผู้หญิงแผ้วได้สร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ไทยไว้มากมายจนได้รับยกย่องขนานนาม

ว่า “ปรมาจารย์แห่งนาฏศิลป์ไทย” เป็นศิลปินแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2528 สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ไทย)

ภาพประกอบ 1.18 ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wik

10

ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)

ศิลปินแห่งชาติ สานานาฏศิลป์ พ.ศ. 2529

ครูรงภักดี เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2442 ที่จังหวัดนครปฐม เป็นบุตรของจางวางจอน

และนางพริ้ง
ครูรงภักดี ฝึกหัดโขน (ยักษ์) กับพระยานัฎกานุรักษ์ และคุณหญิงนัฎกานุรักษ์ เมื่ออายุ 13 ปี

ที่กรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ 6 ต่อมาเข้ารับราชการเป็นศิลปินในกรมมหรสพ สมัยรัชกาลที่ 7 นอกจาก
รับราชการเป็นต ารวจแล้ว ท่านยังมีหน้าที่เป็นครูสอนนาฏศิลป์โขนด้วย

ครูรงภักดี เป็นผู้มีความสามารถร าเพลงหน้าพาทย์องค์พระพราพ ซึ่งเป็นนาฏศิลป์สูงสุดได้

สมัยรัชกาลที่ 9 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายรงภักดีประกอบพธีครอบองค์พระเมื่อวันที่ 24

มกราคม พ.ศ. 2506 บริเวณโรงละครพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต


ต่อมาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพธีต่อท่าร าหน้าพาทย์องค์พระพราพเป็นครั้งที่ 2

ในวันพฤหัสบดีที่ 25 พ.ศ. 2527 ณ ศาลาดุสิตาลัยสวนจิตรลดา แก่ศิลปินกรมศิลปากรที่ได้รับการคัดเลือก
ว่าเป็นผู้ที่มีฝีมือเยี่ยม ในขณะนั้นครูรงภักดีชราภาพมากแล้ว มีอายุได้ 86 ปี โดยให้ศิลปินต่อท่า ร าจาก

ภาพยนตร์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบันทึกท่าร าของครูรงภักดีไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2506
ด้วยเหตุนี้หน้าพาทย์องค์พระพิราพ จึงไม่สูญไปจากนาฏศิลป์ไทย นับว่าครูรงภักดีได้เป็นผู้สืบทอด

เพลงหน้าพาทย์สูงสุดของวิชานาฏศิลป์ไว้เป็นมรดกของแผ่นดิน เพอเยาวชนไทยรุ่นหลังจะได้ศึกษาเรียนรู้
ื่
ต่อไป (ผู้สืบทอดเพลงหน้าพาทย์)

11

ภาพประกอบ 1.19 ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)
ที่มา : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/ef/RongPakdee-1DLC.jpg

ภาพประกอบ 1.20 พิธีกรรมไหว้ครูโขน

ที่มา : http://board.postjung.com/534830.html

12

นางเฉลย ศุขะวณิช

(ศิลปินแห่งชาติ สาขานาฏศิลป์ พ.ศ. 2530)

ครูเฉลย ศุขะวณิช เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477 ท่านเข้ารับราชการฝึกหัดนาฏศิลป์

ที่วังสวนกุหลาบตั้งแต่อายุ 7 ขวบ แล้วย้ายไปศึกษาด้านการแสดงละครดึกด าบรรพ์ที่วัง เพชรบูรณ์
ผลงานด้านการแสดงท่านมีฝีมือและความสามารถในการแสดงเป็นตัวนางเอก เช่น นางสีดา

นางสุวรรณมาลี นางเบญกาย นางดรสา นางมณโฑ มะเดหวี ประไหมสุหรี นางมณฑา
ุ้
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่าร า ได้แก่ ร าแม่บทสลับค า ร าพัด รัตนโกสินทร์ ชุดศุภลักาณ์อมสม
ฉุยฉายวันทองแปลง ฉุยฉายศูรปนขา ฉุยฉายยอพระกลิ่น ร ากริชดรสา ฝรั่งคู่ ระบ าศรีชัยสิงห์ ระบ า

กาญจนาภิเษก ระบ าเทพอัปสรพนมรุ้ง ระบ าขอม ฟ้อนลาวสมเด็จ เซิ้งสราญ นอกจากนี้ยังประดิษฐ์ท่าร า
ให้ตัวละครนางเอกของศิลปินกรมศิลปากร นับว่าเป็นผู้หนึ่งที่สืบทอดวิชานาฏศิลป์ไทยอย่างมีคุณภาพ

และได้มาตรฐาน (เป็นศิลปินแห่งชาติที่สืบทอดวิชานาฏศิลป์อย่างมีคุณภาพ)

ภาพประกอบ 1.21 ครูเฉลย ศุขะวณิช
ที่มา : https://img.tarad.com/shop/k/khunmaebook/img-lib/spd_20131111232657_b.jpg

13

ครูจ าเรียง พุธประดับ

(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์ละคร) พ.ศ. 2531

ครูจ าเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2459 บิดาชื่อนายเปี่ยม มารดา ชื่อนาง

เจิม เป็นชาวจังหวัดเพชรบุรี เริ่มต้นเข้ารับราชการถวายตัวเป็นละครหลวงสมัยรัชกาลที่ 7 ได้รับการฝึกหัด
นาฏศิลป์ที่วังสวนกุหลาบเป็นเวลา 2 ปี เมื่อ พ.ศ. 2478 ได้โอนกองมหรสพ กระทรวงวังมายัง กรมศิลปากร

ครูจ าเรียง พุธประดับจึงได้ย้ายมาเป็นข้าราชการกรมศิลปากร และเป็นศิลปินคนแรกของกรมศิลปากรที่
ได้รับชั้นพเศษ เป็นผู้บริหาร เป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทยระดับปริญญา เป็นอาจารย์พเศษ



คณะอกษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สอนนาฏศิลป์ให้แก่ยุวศิลปินมูลนิธิ พระบาทสมเด็จพระพทธ

เลิศหล้านภาลัย จังหวัดสมุทรสงคราม ถ่ายทอดละครในให้แก่คณะละคร สมัครเล่น วังปลายเนิน ของ
สมเด็จเจ้าฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ สอนนาฏศิลป์ให้แก่นานาชาติ เช่น ญี่ปุ่น พม่า เขมร ลาว

เวียดนาม เป็นหัวหน้าคณะไปเผยแพร่นาฏศิลป์ไทยในต่างประเทศ เป็นผู้พจารณาหลักสูตรนาฏศิลป์

ระดับปริญญา เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ของนักศึกษา

ผลงานที่สืบทอดนาฏศิลป์ไทยแบบมาตรฐานมิให้สูญหาย ได้แก่ เชิดฉิ่งเมขลานาง นารายณ์

เบญกายแปลง พราหมณ์เกศสุริยง นางจันทร์ รจนา บุษบา นางพญาคา ปิน ล้วนเป็นบทบาทที่ครูจ าเรียง
แสดงมาแล้วทั้งสิ้น

ท่านเป็นก าลังส าคัญในการสืบสานพัฒนาอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย และยังได้รับการยกย่องว่าเป็น

ครูนาฏศิลป์ของลูกศิษย์ทั่วแผ่นดินไทย (เป็นศิลปินคนแรกที่ได้รับชั้นพิเศษเป็นผู้บริหารเชี่ยวชาญ)

ภาพประกอบ 1.22 ครูจ าเรียง พุธประดับ

ที่มา : https://i0.wp.com/storysiam.com/wp-content/uploads/2018/11/

14

ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงโขน

นายอาคม สายาคม

นายอาคม สายาคม มีชื่อเดิมว่า บุญสม เกิดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2460 เป็น บุตรของ

นายเจือกับนางผาด ศรียาภัย ต่อมานายสายกับ นางเพยน สายาคม ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงและป้าไม่มีบุตรจึง
ี้
ขอนายอาคม มาเป็นบุตรตั้งแต่ยังเล็ก และให้ใช้นามสกุล สายาคม นายอาคมได้สมรสกับนางสาวเรณู

วิเชียรน้อย มีบุตร 3 คน

นายอาคมเข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ. 2472 ในต าแหน่งโขนหลวง กองมหรสพ ในรัชกาลที่ 7

ต่อมาได้โอนมารับราชการเป็นศิลปินของกรมศิลปากรโดยแสดงเป็นตัวเอก เช่น พระราม อเหนา ขุนแผน

พระอภัยมณี พระไวย ไกรทอง พระลอ อณรุท เป็นต้น นอกจากนั้นยังได้ประดิษฐ์ท่าร าประกอบเพลงต่างๆ
เช่น เพลงหน้าพาทย์ตระนาฏราช เพลงหน้าพาทย์โปรยข้าวตอก เพลงเชิดจีน เป็นต้น

นอกจากความสามารถดังกล่าวแล้วนายอาคมได้เขียนบทความ ค าอธิบายนาฏยศัพท์ ความส าคัญ

ของหัวโขน ระบ า ร า เต้น เป็นต้น รวมทั้งยังได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้ประกอบพธีไหว้ครู ครอบครูโขนละคร

และได้รับเชิญเป็นประธานไหว้ครูของสถาบันต่างๆ ทั้งราชการและเอกชน

นายอาคม สายาคม ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ขณะที่ก าลังจะไปประกอบ


พธีไหว้ครูโขน – ละคร ที่วิทยาลัยนาฏศิลปะเชียงใหม่ ซึ่งนับว่า นายอาคม สายาคมเป็นครูที่ ส าคัญใน
วงการนาฏศิลป์โขน – ละครอีกท่านหนึ่ง (มีผลงานด้านการแสดง ด้านการประดิษฐ์ท่าร าและด้าน วิชาการ)

ภาพประกอบ 1.23 ครูอาคม สายาคม

ที่มา : http://www.digitalrarebook.com/index.php?lay=show&ac=cat_

show_pro_detail&pid=79974

15

ภาพประกอบ 1.24 ครูอาคม สายาคม

ที่มา : https://i.ytimg.com/vi/zolnc_GmAwo/hqdefault.jpg

16

นายกรี วรศะริน

(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์-โขน)

นายกรี วรศะริน เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2457 ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นศิลปิน


ที่เชี่ยวชาญการสอนนาฏศลป์โขนของวิทยาลัยนาฏศิลปะ กรมศิลปากร ท่านมีความสามารถในการแสดง
โขนทุกประเภท โดยเฉพาะโขนตัวลิง อีกทั้งยังสร้างสรรค์และประดิษฐ์ผลงานด้านโขน – ละคร หลายชุด

จนเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการนาฏดุริยางคศิลป์ นายกรี วรศะริน ได้รับการยกย่องเชิดชู เกียรติเป็น
ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) ประจ าปี พ.ศ.2531

ภาพประกอบ 1.25 นายกรี วรศะริน

ที่มา : https://wasan2545.files.wordpress.com/2013/11/ky.jpg?w=640

17

ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงพื้นเมือง

นางเกลียว เสร็จกิจ (ขวัญจิต ศรีประจันต์) ศิลปินแห่งชาติ

สาขาศิลปะการแสดง (เพลงพื้นบ้าน-เพลงอีแซว) ปี 2539

ภาพประกอบ 1.26 นางเกลียว เสร็จกิจ (ขวัญจิต ศรีประจันต์)

http://warang-noi.blogspot.com/2008/10/blog-post_1569.html

ื่
แม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ มีนามจริงว่า นางเกลียว เสร็จกิจ เกิดเมอวันที่ 3 สิงหาคม พุทธศักราช
2490 ที่ ต.วงน้ าซับ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี เป็นบุตรของนายอัง และนางปลด เสร็จกิจ มีพี่น้อง 3

คน สมรสกับนายเสวี ธราพร มีบุตร 3 คน เป็น ชาย 1 คน และหญิง 2 คน เป็นผู้ที่มีความสนใจทางด้าน

การร้องเพลงพื้นบ้านมาตั้งแต่ปี 2505 ขณะที่อายุประมาณ 15 ปี โดยมีความชื่นชม และเฝ้าติดตามการ

ขับร้องเพลงของแม่บัวผัน จันทร์ศรี (ศิลปินแห่งชาติ) และครูไสว วงษ์งาม อย่างใกล้ชิดและในที่สุดกได้
ขอฝากตัวเป็นศิษย์เพื่อฝึกฝนการขับร้องเพลงกับครูเพลงทั้ง 2 ท่าน ด้วยความเป็นผู้ที่มีพรสวรรค์ใน
ั้
ทางการขับร้อง กอปรด้วยความมีไหวพริบปฏิภาณ และน้ าเสียงอันเป็นเลิศ อีกทงมีความมานะพยายาม
ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค ท าให้แม่ขวัญจิตสามารถเรียนรู้วิธีการขับร้องเพลงพื้นบ้านประเภทต่างๆ

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพลงอีแซว จากแม่บัวผัน และเพลงแนวผู้ชายจากครูไสวได้เป็นอย่างดีภายใน
ระยะเวลาไม่นาน แม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ ไม่เพียงมีความสามารถในด้านการขบร้องเพลงพื้นบ้านเท่านั้น

ท่านยังมีความสามารถในการแต่งเพลงอีแซวได้อย่างเป็นเลิศอีกด้วย เนื่องจากท่านมีความรักในด้านการ

อ่านหนังสือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วรรณคดีไทยเป็นพิเศษ จึงสามารถจดจ าลีลาการประพันธ์และเค้าโครง

18

เรื่องเหล่านั้นมาประพันธ์เป็นเพลงอีแซวได้อย่างไพเราะงดงาม แม่ขวัญจิตได้ออกตระเวนเล่นเพลงอีแซว


เพื่อเพิ่มพูนประสบการณและหาความรู้กับครูเพลงพื้นบ้านอีกหลายท่าน ท าให้ความสามารถของท่าน
พัฒนาขึ้นโดยล าดับจนเริ่มมีชื่อเสียง

ผลงานการขับร้องเพลง

ผลงานการขับร้องเพลงด้านต่างๆ ของแม่ขวัญจิต ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันนอกจาก ที่กล่าวมาแล้ว

ยังมีอกมากมาย แบ่งออกเป็นเพลงหลายประเภทดังนี้
ประเภทเพลงลูกทุ่ง ได้แก่ เพลงเศรษฐีสุพรรณ ก็นั่นนะซิ วุ้ยว้าย นางครวญ อ้อมอกเจ้าพระยา
อายบาปอายบุญ ปิดทองพระ แห่ผ้าป่า แฟนหนังเร่ เสียงครวญจากชาวประชา ชวนน้องกลับอีสาน

กับข้าวเพชฌฆาต ฯลฯ

ประเภทเพลงพื้นบ้าน ได้แก่ เพลงชุดปัญหาหัวใจ อานิสงส์ทอดกฐิน ประเพณีไทย
น้ าตาหมอนวด ประวัติเมืองสุพรรณ อแซวประยุกต์ พระมาลัยโปรดนรก พระคณพอแม่ อานิสงส์



บรรพชา ประเพณีแต่งงาน เต้นก าร าเคียวเกี่ยวมดตะนอย ฯลฯ
ประเภทเพลงแหล่ ได้แก่ แหล่มัทรีเดินดง แหล่ประวัตินาค แหล่กัญหาชาลี แหล่ท าขวัญนาค

แหล่ถาม-ตอบพิธีแต่งขันหมาก แหล่ถาม-ตอบเรื่องการแต่งาน ฯลฯ

ตัวอย่างบทเพลงอีแซว

บทร้องไหว้ครู

ก่อนจะเล่นให้ดู ต้องไหว้ครูเสียก่อน จะได้กราบขอพร เอาไว้คุ้มภัย สิบนิ้วประนม กราบก้ม
วันทา ก่อนที่ลูกจะว่า เอ๋ยเพลงไป จะไหว้พระพุทธที่ล้ า ไหว้พระธรรมที่เลิศ จะไหว้พระสงฆ์องค์

ประเสริฐ อรหันต์ขวาซ้าย ขอให้เป็นฉัตรแก้ว แล้วกางกัน ขออย่าให้มีอน อันตราย จะไหว้คุณบิดร

เชียวหนอมารดา ที่ท่านได้เลี้ยงลูกมา จนโตใหญ่ ขอให้มาปกเกศ แล้วปกป้อง อย่าให้ลูกมีอัน อันตราย

ลูกขอไหว้คุณครู ผู้สั่งสอน ขอให้มาต่อกลอน ของลูกไว้ ขอมานั่งอยู่ในคอ คอยต่อปัญญา เมื่อลูกจะว่า

แล้วเพลงไป ลูกจะไหว้ครูพัก ที่ลักจ า บทกลอนที่แนะน า ส่งเสริมให้ ร้องอะไรก็อย่าให้ผิด
คิดแคล่วคล่อง ขอให้หัวสมอง ลูกว่องไว ให้ว่ากลอนเฉาะ ๆ เสนาะส าเนียง ขอให้กลอนกลมเกลี้ยง

เปล่งเสียงถูกใจ แล้วร้องว่าไชโย เอ๋ยไชยยะ ขอให้ลูกชนะ ทุกคนไป

19

นางสมพันธ์ โชตนา

(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา)


นางสมพนธ์ โชตนา เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2464 ที่คุ้มเจ้าหลวงนครเชียงใหม่ เข้ารับ
การฝึกอบรมนาฏศิลป์ในคุ้มเจ้าหลวงเชียงใหม่ เมื่ออายุ 9 ปี โดยท่านหัดเป็นตัวพระกับครูหม่อม แส
ณ เชียงใหม่ โดยแสดงเป็นตัวพระและตัวพอ ในละครเรื่อง ไชยเชษฐ์ คาวี สุวรรณหงส์ ต่อมาท่านได้ตั้ง


คณะช่างฟ้อนประดิษฐ์ท่าเต้นของชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น ชุดร าไทยเขิน ฟอนวี ฟอนกมผัด จนท่านได้รับ

ื้
ื้
ยกย่องว่าเป็นผู้สืบสานพฒนานาฏศิลป์พนเมืองล้านนา และอนุรักษ์ดนตรีการแสดงพนเมือง ภาคเหนือ

ื้
จึงได้รับยกย่องและเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์พนเมือง ล้านนา)
ประจ าปี พ.ศ. 2542

ภาพประกอบ 1.27 นางสมพนธ์ โชตนา

(ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นาฏศิลป์พื้นเมืองล้านนา)
ที่มา : http://art.culture.go.th/art01.php?nid=156

20

ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงละครไทย

ครูสุวรรณี ชลานุเคราะห ์

นางสุวรรณี ชลานุเคราะห์ เกิดเมอวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 ที่จังหวัดนนทบุรี ท่านเป็น
ื่
นาฏศิลป์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านนาฏศิลป์ไทย ทั้งแบบพื้นเมืองและแบบราชส านัก บทบาทที่ท่านได้รับ

การยกย่องมากที่สุดคือ ตัวพระ จากละครไทยเรื่องอิเหนา สังข์ทอง พระไวย ไกรทอง แสดงเป็นนางเอก

ในเรื่อง ละเวงวัลลา รวมทั้งได้สร้างสรรค์ประดิษฐ์ชุดการแสดงต่าง ๆ และน าไปแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมใน
หลาย ๆ ประเทศ จนได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์-

ละครร า) เมื่อ พ.ศ. 2533

ภาพประกอบ 1.28 อาจารย์สุวรรณี ชลานุเคราะห์ (ศิลปินแห่งชาติ)
ที่มา : https://sites.google.com/site/wachraphumkhunthd/_/rsrc/1420455539148/xacary-

su-wrrni-chla-nu-kheraah-silpin-haeng-chati/K8083717-75.jpg?height=400&width=267

21

อาจารย์เสรี หวังในธรรม

ภาพประกอบ 1.29 อาจารย์เสรี หวังในธรรม (ศิลปินแห่งชาติ)

ที่มา : https://www.artbangkok.com/?p=5023

อาจารย์เสรี หวังในธรรม เกิดเมื่อวันที่ ๓ มกราคม พุทธศักราช 2480 ที่กรุงเทพมหานคร

ปัจจุบันอายุ 64 ปี ได้รับการศึกษาชั้นอนุบาลที่โรงเรียนศรีจรุง จากนั้นก็ได้ไปศึกษาต่อชั้นประถมที่
โรงเรียนปิยะวิทยา ชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนชิโนรส แล้วจึงย้ายไปเรียนต่อที่โรงเรียนนาฏศิลป์ของกรม

ศิลปากร ตามล าดับ

ณ ที่นั้น ท่านได้ศึกษาศิลปะการแสดงแขนงต่างๆ ทั้งดุริยางค์ไทยและสากล คีตศิลป์ไทย
ศิลปะการแสดงละคร และโขน เป็นต้น เมื่อจบการศึกษา ในปี 2497 แล้ว ท่านได้เข้ารับราชการใน

แผนกดุริยางค์ไทย กองการสังคีต กรมศิลปากร จนกระทั่งถึงปี 2505 ท่านกได้รับทุนให้ไปศึกษาต่อที่

มหาวิทยาลัยอีสต์เวสต์เซนเตอร์ มลรัฐฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเวลา 3 ปี จึงได้กลับมารับ

ราชการต่อที่ต้นสังกัดเดิม

ตั้งแต่เริ่มต้นเข้ารับราชการจวบจนปัจจุบัน อาจารย์เสรี หวังในธรรม นับเป็นผู้ที่มีบทบาทส าคัญ
อย่างสูงยิ่ง ทั้งในฐานะ นักแสดง นักประพันธ์ นักดนตรี นักร้อง นักพูด นักบรรยาย ผู้อ านวยการสร้าง ผู้

ก ากับการแสดง และนักบริหารที่ได้ใช้ความรู้ความสามารถของตนสร้างความบันเทิง และเผยแพร่
ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้เป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่คนไทย และเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก

ในด้านการแสดงนั้น ท่านศิลปินผู้มีความสามารถหลากแขนง และหลายบทบาท ทั้งบทพระนาง

ยักษ์ ลิง กษัตริย์ ฤษี พราหมณ์ ขุนนาง ตัวดี ตัวโกง ตัวตลก ฯลฯ จนเป็นที่รู้จักและชื่นชอบของผู้ชมและ
ถือเป็นตัวชูโรงของละครกรมศิลปากรมาเป็นเวลายาวนาน บทบาทดีเด่นที่เป็นที่กล่าวขวัญของคนดูได้แก่

บท “พระมหาเถรกุโสดอ” ในละครเรื่องผู้ชนะสิบทิศ “เถรขวาด” ในเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน “ชูชก”

22

ในเรื่อง พระเวสสันดร “ท้าวเสนากุฏ” ในเรื่อง สังข์ศิลปชัย “นางมณฑา” ในเรื่อง สังข์ทอง ตอน มณฑา

ลงกระท่อมหาเนื้อหาปลา ฯลฯ

ส่วนในด้านการประพันธ์ ท่านก็ได้แต่งบทโขน ละคร ลิเก เพลงไทยสากล บทอวยพร และบท
เบ็ดเตล็ดอีกเป็นจ านวนมาก ดังจะขอหยิบยกมาเป็นตัวอย่างดังนี้

บทโขน ได้แก่ เรื่องรามเกียรติ์ทุกตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ และบทโขนที่แต่งจากเรื่อง

นารายณ์สิบปาง และบทโขนตามต านานพื้นเมืองของจังหวัดลพบุรี เป็นต้น
บทละคร ได้แก่ บทละครใน ละครนอก ละครพันทาง ละครเสภา ละครพูด เรื่องที่

ได้รับความนิยมสูงสุดเรื่องหนึ่ง ได้แก่ บทละครพันทาง เรื่อง ผู้ชนะสิบทิศ
บทลิเก ได้แก่ เรื่องจันทโครพ และพระหันอากาศ เป็นต้น

บทเพลงไทยสากล ได้แก่ เพลงรอยเบื้องยุคลบาท สถิตในหทัยราษฎร์ กล่อมพระขวัญ

เพื่อผู้มีดนตรีการ เราคือคนไทย สมเด็จพระมิ่งแม่ มหาวชิราลงกรณ์ สมเด็จพระปิยชาติ อิฐเก่ากอนเดียว

ฯลฯ

บทอวยพร ได้แก่ บทถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ในมงคลวโรกาสต่างๆ

นอกจากผลงานในด้านต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว อาจารย์เสรี หวังในธรรม ยังเป็นศิลปินที่มีความคิด

ริเริ่มดีเด่น และมี ‘ไฟ’ ในการท างานที่โชติช่วงอยู่ตลอดเวลา โดยท่านได้ริเริ่มจัดท ารายการแสดง
ประเภทต่างๆ ที่ให้ทั้งสารประโยชน์และความบันเทิง เช่น รายการชุด ดนตรีไทยพรรณนา ซึ่งเป็น

รายการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยในแง่มุมต่างๆ รายการชุดนาฏยาภิธาน อันเป็นรายการที่ว่าด้วย

เรื่องการแสดงละครแบบต่างๆ รายการชุดขับขานวรรณคดี อันว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดีต่างๆ ที่
น ามาจัดท าเป็นบทนาฏกรรม ทั้งยังได้คิดริเริ่มจัดท ารายการ ศรีสุขนาฏกรรม ซึ่งเป็นรายการที่ประกอบ

การละเล่นต่างๆ เช่น โขน ละคร ลิเก ฟ้อน ร า ระบ า เซิ้ง ในรูปแบบสารพันบันเทิงจนเป็นรายการที่
ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง รวมทั้งรายการธรรมะบันเทิง ซึ่งเป็นรายการแสดงที่ว่าด้วยเรื่องของธรรมะ

และศีลธรรม อันล้วนแต่ยังประโยชน์แก่ส่วนรวมทั้งสิ้น

ในด้านการเป็นนักบริหารนั้น อาจารย์เสรี หวังในธรรม ได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการในต าแหน่งส าคัญ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งต าแหน่งผู้อ านวยการกองการสังคีตอยู่เป็นเวลานานปี ตลอดระยะเวลาดังกล่าว ท่านได้

บริหารราชการด้วยความสามารถจนงานในหน้าที่รุดหน้าไปเป็นอย่างดี สร้างชื่อเสียงให้แก่กรมศิลปากร
เป็นอันมาก งานส าคัญในหน้าที่ที่รับผิดชอบดังกล่าว ได้แก่ การจัดการแสดงในวโรกาสและโอกาสส าคัญ

ต่างๆ ของชาติ การน าคณะนาฏศิลป์ไทยไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมในต่างประเทศหลาย


ครั้ง และการจัดกิจกรรมพิเศษต่างๆ ในการส่งเสริมศลปวัฒนธรรม เป็นต้น
จากเกียรติประวัติดังกล่าว ท าให้ท่านได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขา

ศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) เมื่อปีพุทธศักราช 2531

23

ใบงานที่ 2.1

เรื่อง บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

ชื่อ - สกุล ........................................................................................... เลขที่ ............... ชั้น............
จุดประสงค์การเรียนรู้

นักเรียนสามารถอภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทย
ในยุคสมัยต่างๆ ได้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอภิปรายจ าแนกประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย (10 คะแนน)

1. ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จ านวน 2 ท่าน (4 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

24

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

25

2. ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงโขน จ านวน 1 ท่าน (2 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

26

3. ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงพื้นเมือง จ านวน 1 ท่าน (2 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

27

4. ประวัติบุคคลส าคัญในการแสดงละครไทย จ านวน 1 ท่าน (2 คะแนน)

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

28

เกณฑ์การให้คะแนน

ข้อละ 2 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้คะแนน............คะแนน ผ่าน ไม่ผ่าน

คะแนน 2 นักเรียนเขียนอภิปรายจ าแนกประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย

ได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงประเด็น
คะแนน 1 นักเรียนเขียนอภิปรายจ าแนกประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย

ได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน
คะแนน 0 นักเรียนไม่สามารถเขียนอภิปรายจ าแนกประวัติบุคคลส าคัญในวงการ

นาฏศิลป์ไทยได้ หรือไม่เขียนค าตอบ

* ค าตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
เกณฑ์การประเมิน : 8 – 10 คะแนน ระดับ ดี = ผ่าน

5 – 7 คะแนน ระดับ พอใช้ = ไม่ผ่าน
0 – 4 คะแนน ระดับ ปรับปรุง = ไม่ผ่าน

29

ใบงานที่ 2.2

เรื่อง สรุปความส าคัญของประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย

ชื่อ - สกุล ........................................................................................... เลขที่ ............... ชั้น............
จุดประสงค์การเรียนรู้

นักเรียนสามารถอภิปรายบทบาทของบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทย
ในยุคสมัยต่างๆ ได้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น สรุปความส าคัญของประวัติบุคคลส าคัญในวงการ

นาฏศิลป์ไทย (10 คะแนน)

นักเรียนคิดว่าประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยมีประโยชน์ต่อการเรียนวิชานาฏศิลป์
อย่างไร จงอธิบาย

………………………………….………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

30

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ได้คะแนน............คะแนน ผ่าน ไม่ผ่าน

คะแนน 8 - 10 นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น สรุปความส าคัญของประวัติ

บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย ได้ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงประเด็น
คะแนน 5 - 7 นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น สรุปความส าคัญของประวัติ

บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน
คะแนน 1 - 4 นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็น สรุปความส าคัญของประวัติ

บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยได้

คะแนน 0 นักเรียนไม่สามารถเขียนอภิปรายจ าแนกประวัติบุคคลส าคัญในวงการ
นาฏศิลป์ไทยได้ หรือไม่เขียนค าตอบ

* ค าตอบขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน
เกณฑ์การประเมิน : 8 – 10 คะแนน ระดับ ดี = ผ่าน

5 – 7 คะแนน ระดับ พอใช้ = ไม่ผ่าน

0 – 4 คะแนน ระดับ ปรับปรุง = ไม่ผ่าน

31

แบบทดสอบหลังเรียน

เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียวแล้วท าเครื่องหมายกากบาท ()
ลงในกระดาษค าตอบ ข้อสอบจ านวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที (10 คะแนน)

1. นางลมุล ยมะคุปต์ มีบทบาทที่ส าคัญต่อวงการนาฏศิลป์ไทย
ก. เป็น “ปรมาจารย์แห่งนาฏศิลป์ไทย”

ข. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่าร าแม่บทสลับค า
ค. เป็นผู้ร่างหลักสูตรการเรียนให้กับวิทยาลัยนาฏศิลป ์

ง. เป็นผู้มีความสามารถร าเพลงหน้าพาทย์องค์พระพิราพ

2. อาจารย์เสรี หวังในธรรมได้จัดรายการเกี่ยวกับการแสดงต่างๆ ชื่อรายการอะไร
ก. นาฏยนาฏกรรม

ข. ศิลปะนาฏกรรม
ค. ศรีสุขนาฏกรรม

ง. สีสันนาฏกรรม

3. ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์ ระบ าร่อนแร่
ก. นางสาวสัมพันธ์ พันธุ์มณ ี

ข. นางสาวจ าเรียง พุธประดับ

ค. นางสาวรัจนา พวงประยงค์
ง. นางสาวปราณี ส าราญวงศ์

4. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการศึกษาประวัติบุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย

ก. ท าให้ทราบถึงความส าคัญของนาฏศิลป์ไทย
ข. ได้มีแรงบันดาลใจในการเรียนนาฏศิลป์

ค. ได้รู้ถึงแนวทางในการประกอบอาชีพ
ง. ทุกข้อล้วนแต่เป็นประโยชน์ทั้งสิ้น

32

5. บุคคลในข้อใด เป็นศิลปินที่เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์โขน

ก. นายกรี วรศะริน

ข. ครูเฉลย ศุขะวณิช
ค. ครูจ าเรียง พุธประดับ

ง. ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)

6. บุคคลในข้อใดได้รับการยกย่องว่าเป็น “ปรมาจารย์แห่งนาฏศิลป์ไทย”
ก. ครูนางลมุล ยมะคุปต์

ข. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี
ค. ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)

ง. หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์) ภัทรนาวิก

7. บุคคลที่ได้เข้ารับการฝึกหัดละครใน จากคุณท้าววรจันทร์บรมธรรมิกภักดี (เจ้าจอมมารดาในรัชกาลที่ 4)
ก. นางลมุล ยมะคุปต์

ข. นายอาคม สายาคม
ค. นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

ง. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

8. บุคคลในข้อใดได้รับการยกย่องว่าเป็น “พระบิดาแห่งละครร้อง”
ก. ครูอาคม สายาคม

ข. ครูมัลลี คงประภัศร์

ค. หม่อมครูต่วน (ศุภลักษณ์) ภัทรนาวิก
ง. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

9. บุคคลใดที่น าเอาวิธีการแสดงละคร “บังสาวัน” มาดัดแปลงและปรับปรุงขึ้นใหม่เรียกว่า “ละครร้อง”
ก. หลวงวิจิตรวาทการ

ข. นายอาคม สายาคม

ค. นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

ง. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพนธ์พงศ์
10. ผู้ที่เข้ารับราชการในต าแหน่งโขนหลวง กองมหรสพ ในรัชกาลที่ 7 และต่อมาได้โอนมารับราชการ
เป็นศิลปินของกรมศิลปากรโดยแสดงเป็นตัวเอก คือบุคคลใด

ก. นางลมุล ยมะคุปต์

ข. นายอาคม สายาคม
ค. นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

ง. ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

33

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลังเรียน

เล่มที่ 2 บุคคลส าคัญในวงการนาฏศิลป์

ชื่อ...................................................เลขที่.............ชั้น...................

แบบทดสอบหลังเรียน

ค าตอบ
ข้อ ก ข ค ง คะแนน

1

2
3

4

5
6

7

8
9

10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน

คะแนนที่ได้

ผ่าน  หมายถึง ได้คะแนน 8 คะแนน ขึ้นไป

ไม่ผ่าน  หมายถึง ได้คะแนนต่ ากว่า 8 คะแนน

34

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
องค์กรรับส่งสินค้าและพสดุภัณฑ (ร.ส.พ.).


เกริก ท่วมกลาง และคณะ. (2555). การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ.

พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : เยลโล่การพิมพ์ (1988) จ ากัด.

ธิดารัตน์ ภักดีรักษ์. (2557). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน นาฏศิลป์ 4 – 6 ชั้นมัธยมศกษาปีที่ 4 – 6
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. เอมพันธ์ จ ากัด.

พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), สถาบัน. (2555). คู่มอครูนาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท 6. กรุงเทพฯ :
ี่

พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).

พาณี สีสวย. ดนตรีและนาฏศิลป์. (2526). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์.
สุมิตร เทพวงษ์. (2548). นาฏศิลป์ไทยส าหรับครูประถมศึกษา-อุดมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :

โอเดียนสโตร์.
ฉันทนา เอี่ยมสกุล. (2556). นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์. อ.ก็อปปี้เซ็นเตอร์.

35