ข้อ ใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับจำนำและจำนอง O-NET ปี 59

 &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&amp;nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;h2&gt;&lt;strong&gt;เฉลยข้อสอบO-net ( วิทยาศาสตร์ วิชา ชีววิทยา) ปีการศึกษา 2559 สอบกุมภาพันธ์ 2560&lt;/strong&gt;&lt;/h2&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&amp;nbsp; &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;h3&gt;&lt;a target="_blank" href="http://www.nana-bio.com/Medium/O-net2559/05%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C.pdf"&gt;ดาวโหลดข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2559 สอบกุมภาพันธ์ 2560&lt;/a&gt;&lt;/h3&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td valign="top"&gt;&lt;table width="899" border="0"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="249" valign="top"&gt;&lt;h3&gt;ข้อ 1 (3)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 2 (4)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 3 (2)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 4 (5)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 5 (3)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 6 (3)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 7 (3)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 8 (5)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 9 (4)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 10 (2) &lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 11 (2)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 12 (2)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 13 (4)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 14 (2)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;&amp;nbsp;&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;&amp;nbsp;&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;&amp;nbsp;&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;&amp;nbsp;&lt;/h3&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="250" valign="top"&gt;&lt;h3&gt;ข้อ 15 (2)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 16 (3)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 17 (1)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;ข้อ 18 (2)&lt;/h3&gt; &lt;h3&gt;&amp;nbsp;&lt;/h3&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="386" align="center" valign="top"&gt;&lt;h3&gt;สิ่งดีๆเกิดขึ้นได้เนื่องจากมีผู้สนับสนุน&lt;/h3&gt; &lt;h3 class="style1"&gt;พันธมิตร&lt;/h3&gt; &lt;h3 class="style1"&gt;&lt;a href="https://www.chulatutor.com/hsk/" target="_blank"&gt;HSK&lt;/a&gt;&lt;/h3&gt; &lt;h3 class="style1"&gt;&lt;a href="https://www.chulatutor.com/en/muic/" target="_blank"&gt;MUIC&lt;/a&gt;&lt;/h3&gt; &lt;h3 class="style1"&gt;&lt;a href="https://www.chulatutor.com/msu-ept/" target="_blank"&gt;MSU EPT&lt;/a&gt;&lt;/h3&gt; &lt;h3 class="style2"&gt;&amp;nbsp; &lt;/h3&gt; &lt;h3 class="style3"&gt;ลิงก์ผู้สนับสนุน&lt;/h3&gt; &lt;script async&gt; <ins class="adsbygoogle" style="display:inline-block;width:336px;height:280px" data-ad-client="ca-pub-7998598786898515" data-ad-slot="9939796140"></ins> <script> (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

ข้อ 1) ข้อใดเป็นกลไกที่ต้องใช้พลังงาน (O-net 59)       

 1.การคายน้ำของใบพืช        

 2.เมล็ดถั่วแห้งเกิดการพองตัวเมื่อแช่ในน้ำ        

 3.การที่รากพืชดูดแร่ธาตุจากดินเข้าสู่เซลล์        

 4.การแพร่ของเกล็ดด่างทับทิมที่ละลายในน้ำ        

 5.การลำเลียงคาร์โบไฮเดรตหรือโปรตีนเข้าออกเซลล์


คำตอบข้อ 1 ) ตอบ  (3) การที่รากพืชดูดแร่ธาตุจากดินเข้าสู่เซลล์

เหตุผล

เหตุการณ์

เหตุผล

1.การคายน้ำของใบพืช

เป็นไปตามหลักความเข้มข้น ไอน้ำจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงจะแพร่ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ ไม่ต้องอาศัยพลังงานกระตุ้น

2. เมล็ดถั่วแห้งเกิดการพองตัวเมื่อแช่ในน้ำ

เป็นการแพร่ของน้ำเข้าสู่เซลล์จึงทำให้เมล็ดถั่วพองตัว เป็นกลไกที่ไม่ต้องอาศัยพลังงาน

3. การที่รากพืชดูดแร่ธาตุจากดินเข้าสู่เซลล์

การดูดแร่ธาตุจากดินเข้าสู่เซลล์มี 2 แบบคือแบบใช้พลังงานกระตุ้น กับ แบบไม่ใช้พลังงานกระตุ้น ขึ้นอยู่กับปริมาณของแร่ธาตุในดิน และความต้องการของพืชชนิดนั้น

4. การแพร่ของเกล็ดด่างทับทิมที่ละลายในน้ำ

เป็นการแพร่ตามความเข้มข้นสูงไปต่ำไม่ต้องอาศัยพลังงาน

5. การลำเลียงคาร์โบไฮเดรตหรือโปรตีนเข้าออกเซลล์

เป็นการลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ลำเลียงเข้า เป็นแบบเอนโดไซโทซีส (Endocytosis) ลำเลียงออก เป็นแบบ เอกโซโทซีส (Exocytosis) ซึ่งเป็นกลไกที่ไม่ต้องอาศัยพลังงานกระตุ้น

 

ข้อ 2)การปลูกพืชในพื้นที่แล้งที่ได้รับแสงแดดจัดและมีอุณหภูมิสูง ควรเลือกปลูกพืชที่มีลักษณะใด (O-net 59)       

1. มีอัตราการคายน้ำสูง       

2. มีจำนวนปากใบมากเฉพาะที่ผิวด้านบน       

3. มีจำนวนใบมากและมีรูปากใบเปิดกว้าง       

4. มีจำนวนปากใบน้อยและรูปากใบเปิดไม่เต็มที่       

5. มีจำนวนปากใบมากที่ผิวทั้งด้านบนและด้านล่าง


คำตอบข้อ 2 ) ตอบ  (4)   มีจำนวนปากใบน้อยและรูปากใบเปิดไม่เต็มที่

เหตุผล

การปลูกพืชในบริเวณแสงแดดจัดและมีอุณหภูมิสูง เป็นสภาวะที่เอื้อต่อการสูญเสียน้ำในรูปของการคายน้ำ ดังนั้นพืชที่จะนำมาปลูกในบริเวณนี้ควรเป็นพืชที่มีอัตราการคายน้ำต่ำ ได้แก่พืชใน ข้อ 4 ที่มีจำนวนปากใบน้อย และรูปากใบเปิดไม่เต็มที่

  ข้อ 3) ข้อใดเป็นวิธีการที่เหมาะสมในการดูแลกิ่งที่ปักชำลงดินปลูกในเรือนเพาะชำ เพื่อรักษาดุลยภาพของน้ำ (O-net 59)

 1.  เพิ่มอุณหภูมิและเพิ่มความชื้น

 2.  ลดอุณหภูมิและลดความเข้มแสง

 3.  ลดความเข้มแสงและลดความชื้น

 4.  เพิ่มความเข้มแสงและลดอุณหภูมิ

 5.  เพิ่มความชื้นและเพิ่มความเข้มแสง


คำตอบข้อ 3 ) ตอบ (2) ลดอุณหภูมิและลดความเข้มแสง

เหตุผล

ก่อนที่กิ่งชำจะงอกรากและใบ ดุลยภาพของน้ำที่กิ่งชำควรรักษาไว้คือ ลดการสูญเสียน้ำ ซึ่งสอดคล้องกับข้อ 2 ซึ่งเป็นภาวะที่ลดการสูญเสียน้ำคือลดอุณหภูมิ และความเข้มแสง

    ข้อ 4) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการรักษาดุลยภาพของน้ำและเกลือแร่ของปลาทะเล(O-net 59)

 1.   ปลาไม่กินน้ำทะเล     

 2.   ปลาขับเกลือออกทางต่อมนาซัล     

 3.   ปลาขับปัสสวะที่เจือจางออกเป็นปริมาณมาก     

 4.   น้ำทะเลเป็นไฮโพโทนิคต่อของเหลวในร่างกายปลา     

 5.   ปลามีเกล็ดป้องกันไม่ให้แร่ธาตุจากน้ำทะเลซึมเข้าสู่ร่างกาย


คำตอบข้อ 4 ) ตอบ (5)   ปลามีเกล็ดป้องกันไม่ให้แร่ธาตุจากน้ำทะเลซึมเข้าสู่ร่างกาย

เหตุผล

          ปลาทะเลมีกระบวนการควบคุมระดับน้ำในร่างกายตรงข้ามกับปลาน้ำจืด กล่าวคือผิวหนังและเกล็ดของปลาทะเลทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้แร่ธาตุจากน้ำทะเลซึมเข้าสู่ร่างกาย และที่เหงือกยังมีกลุ่มเซลล์ซึ่งขับแร่ธาตุส่วนเกินออก โดยวิธีการลำเลียงแบบใช้พลังงาน ปลาทะเลจะปัสสาวะน้อย และปัสสาวะมีความเข้มข้นสูง ส่วนแร่ธาตุที่ปนมากับอาหารจะกำจัดออกทางทวารหนัก

  ข้อ 5) เมื่อคนอยู่ในบริเวณที่มีอากาศหนาวมาก ถึงแม้จะใส่เสื้อกันหนาวแล้ว ยังรู้สึกหนาว บางครั้งหนาวจนสั่น ข้อใดคือ การตอบสนองของร่างกายต่ออากาศหนาว (O-net 59)

     1.   อัตราการหายใจลดลง

     2.   ต่อมเหงื่อขับเหงื่อออกมากขึ้น

     3.   อัตราเมทาบอลิซึมของร่างกายเพิ่มขึ้น

     4.   หลอดเลือดบริเวณผิวหนังขยายตัวมากขึ้น

     5.   ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมนเอนดอร์ฟินมากขึ้น


คำตอบข้อ 5 ) ตอบ (3)   อัตราเมทาบอลิซึมของร่างกายเพิ่มขึ้น

เหตุผล

การเปลี่ยนแปลงของร่างกายขณะที่อุณหภูมิภายนอกต่ำลงเป็นผลให้สมองส่วนไฮโพทาลามัสควบคุมร่างกายดังนี้

   ๐ หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนังหดตัวเพื่อลดการแผ่ความร้อน

   ๐ ขนลุกชันกล้ามเนื้อโครงร่างหดตัวเร็วขึ้นทำให้ร่างกายหนาวสั่น

   ๐ ต่อมเหงื่อไม่หลั่งเหงื่อลดการระเหยของเหงื่อ

   ๐ อัตราเมทาบอลิซึมของร่างกายเพิ่มขึ้นทำให้พลังงานความร้อนที่เกิดจากกระบวนการเมทาบอลิซึมในเซลล์ถ่ายเทผ่านเลือดไปทั่วร่างกาย

   

เลือกข้อถัดไปเพื่อเข้าศึกษา

 

หน้าถัดไป >>

[ ข้อ 1-5 ] / [ ข้อ 6-10 ] / [ ข้อ 11-15 ] / [ ข้อ 16-18 ]

     

กลับหน้าหลัก

พัฒนาโดย ครูนันทนา สำเภา ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนปทุมราชวงศา จังหวัดอำนาจเจริญ

ช่องทางติดตามผลงงานทาง Youtube ::

ติดตามผลงานทางแฟนเพจเฟสบุ๊ค  ::

 

ข้อ ใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับจำนำและจำนอง O-NET ปี 59
ข้อ ใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับจำนำและจำนอง O-NET ปี 59
ข้อ ใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับจำนำและจำนอง O-NET ปี 59
ข้อ ใดกล่าว ถูก ต้อง เกี่ยวกับจำนำและจำนอง O-NET ปี 59