ข้อ ใด เป็น สถานภาพที่ได้มา ด้วย ความสามารถ

�������Ҫԡ���բͧ�ѧ��������ѧ���š
��÷��ؤ�Ũ�����Ҫ����բͧ�ѧ��������ѧ���š �е�ͧ�ӹ֧�֧ʶҹ�Ҿ ���ҷ �Է�� �����Ҿ

���˹�ҷ��㹡�û�ԺѵԵ��繾����ͧ��

�������¢ͧʶҹ�Ҿ ���ҷ �Է�� �����Ҿ ���˹�ҷ��
1) ʶҹ�Ҿ ���¶֧ ���˹觷��ؤ�����Ѻ�ҡ�������Ҫԡ�ͧ�ѧ�� ���͡��ʶҹ�Ҿ��������¡��Դ

�� �١ ��ҹ ���� �繵� ���ʶҹ�Ҿ�ҧ�ѧ�� �� ��� �ѡ���¹ ᾷ�� �繵�

2) ���ҷ ���¶֧ ��û�ԺѵԵ���Է�� ˹�ҷ���ѹ���ͧ�Ҩҡʶҹ�Ҿ�ͧ�ؤ�� ���ͧ�ҡ�ؤ��������ʶҹ�Ҿ

㹤������� �й�鹺��ҷ�ͧ�ؤ�Ũ֧��ͧ��Ժѵ�仵��ʶҹ�Ҿ�ʶҹ��ó���ʶҹ�Ҿ��� �

3) �Է�� ���¶֧ �ӹҨ���ͼŻ���ª��ͧ�ؤ�ŷ�衮����������������ͧ �� �Է�����͡���

�����¡�˹����ؤ�ŷ�������� 18 �պ�Ժ�ó��դس���ѵԶ١��ͧ������������Է�����͡��Ҫԡ��Ҽ��᷹��ɮ�

4) �����Ҿ ���¶֧ �����������㹡�á�зӢͧ�ؤ�ŷ������㹢ͧࢵ�ͧ������ �� �����Ҿ㹡�þٴ

�����¹ �繵�

5) ˹�ҷ�� ���¶֧ �����Ѻ�Դ�ͺ�ͧ�ؤ�ŷ��е�ͧ��Ժѵ� �� ˹�ҷ��ͧ�Դҷ���յ�ͺص� �繵�

�����ʹ���ͧ�ͧʶҹ�Ҿ��к��ҷ�ͧ�ؤ����Զժ��Ե��ЪҸԻ��

ʶҹ�Ҿ��к��ҷ�ͧ�ؤ�ŷ���ʹ���ͧ�ѹ ��

1) ��� ��� ����պ��ҷ�ѧ���

(1) �Ѻ�Դ�ͺ㹡��ͺ������͹��Ҫԡ㹤�ͺ����

(2) ������֡�ҵ����Ҫԡ�ͧ��ͺ����

(3) �Ѵ��ç�����ҳ�ͧ��ͺ���������������Ѻ���ɰ�Ԩ�ͧ�ѧ������š

(4) ��ͧ����Ẻ���ҧ���դ����ѡ��ͺص�

2) ��� � �Ҩ���� ����պ��ҷ �ѧ���

(1) ���·ʹ���������������¡�кǹ��÷����ҡ���������������Ѻ��������ö��Ф���ʹ㨢ͧ�ѡ���¹

(2) ��ͧ�����������������Ẻ���ҧ�����������

(3) �繼��������з���������ʹ��㹡������͹������駴�ҹ������оĵ���С���֡��

(4) �ִ��������º�Թ�� ��ʹ����ԺѵԵ������Һ�ó���

3) �ѡ���¹ ����պ��ҷ �ѧ���

(1) �ִ���㹤س�������¸����������º�ͧ�ç���¹

(2) �Ѻ�Դ�ͺ���˹�ҷ��㹡���֡���Ҥ������

(3) ��������þ��ͺؤ�ŷ����������������ҷ�����������Ѻʶҹ��ó�

(4) �Ѻ�ѧ��л�ԺѵԵ��������͹���ҧ���˵ؼ�

(5) ��ѹ��������㹡���ʴ��Ҥ�������������

(6) ��������ҧ�������Ѥ��㹤�ͺ���� �ç���¹ ��Ъ����

ข้อ ใด เป็น สถานภาพที่ได้มา ด้วย ความสามารถ

สถานภาพและบทบาท (Status and Role)
ปรากฏการณ์อีกอย่างหนึ่งที่มีความเกี่ยวพันกับบรรทัดฐาน ก็คือ "สถานภาพ" ทั้งนี้ก็เพราะว่า บรรทัดฐานมิได้ลอยตัวโดยอิสระ ในสังคมหากมีความผูกพันธ์อยู่กับสถานภาพ กล่าวได้ว่า สังคมมนุษย์ ก็คือ "ตาข่ายของสถานภาพ" ซึ่งเป็นกุญแจไขทำให้ทราบถึงกิจกรรมของกลุ่มคนและสมาคม

ความหมายของสถานภาพ
เพื่อที่จะให้เข้าใจถึงความหมายของสถานภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ใคร่ขอเสนอความคิดของนักสังคมวิทยาดังต่อไปนี้ Young and Mack อธิบายว่า "สถานภาพ คือ ตำแหน่ง (Position) ในโครงสร้างทางสังคม"
        Ogburn and Nimkoff อธิบายว่า "สถานภาพ คือ ตำแหน่งของบุคคลที่ กลุ่มสังคมวางไว้ในการสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม"
ประสาท หลักศิลา อธิบายว่า คือ ตำแหน่งหรือหน้าที่การงานซึ่งกำหนดขึ้นในโครงรูปหรือระบบของสังคม ในแต่ละระบบของสังคมย่อมมีตำแหน่งหรือสถานภาพต่าง ๆ และมีระเบียบหรือบรรทัดฐานสำหรับแนวทางปฏิบัติของตำแหน่งหรือสถานภาพนั้น ๆ คู่กันไปด้วยเสมอ

ข้อ ใด เป็น สถานภาพที่ได้มา ด้วย ความสามารถ

ที่มา : http://www.2bemen.com/health/love-and-sex/attractive/10-ways-to-turn-you-into-a-better-man

ความสำคัญของสถานภาพ
สถานภาพ ก็คือ ตำแหน่งของบุคคลในสังคมหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทุกสังคมหรือกลุ่มคนย่อมมีตำแหน่งมากมายและบุคคลคนเดียวอาจดำรงตำแหน่งหลายตำแหน่ง เช่น นาย ก. เป็นลูกชายของพ่อ เป็นนักศึกษา เป็นสมาชิกของชมรม เป็นต้น
ในสังคมเชิงซ้อน คือ สังคมที่ประกอบด้วยคนกลุ่มใหญ่ ๆ หลายกลุ่มและคนเหล่านั้นมีความแตกต่างกันในด้านชีวิตความเป็นอยู่ การอาชีพ และมีอัตราการย้าย ถิ่นฐานสูงนั้น การปะทะสังสรรค์ทางตำแหน่งมิใช่เป็นไปในทางส่วนตัวและนี่เองทำให้ "สถานภาพมีความสำคัญยิ่งต่อการศึกษาทางสังคมวิทยา" ขอยกตัวอย่างเช่น นิสิตใหม่คนหนึ่งของมหาวิทยาลัยต้องติดต่อกับเจ้าหน้าที่ลงทะเบียนและอาจารย์ผู้บรรยายต่าง ๆ โดยที่นิสิตคนนั้นไม่รู้จักหรือเห็นหน้าค่าตาของบุคคลดังกล่าวมาก่อนเลย แต่การ ดำเนินการลงทะเบียนและการเข้าชั้นเรียนก็เป็นไปตามตำแหน่งซึ่งมีบรรทัดฐาน กำกับไว้
เพราะฉะนั้น บรรทัดฐานหรือตำแหน่งช่วยให้นิสิตใหม่คนนั้นรู้ว่า เขาควรประพฤติหรือปฏิบัติอย่างไร บรรทัดฐานซึ่งเกี่ยวพันกับสถานภาพเหล่านั้นก็คือ สิทธิหน้าที่ อภิสิทธิ์ และภาวะจำยอม ซึ่งวินิจฉัยพฤติกรรมของมนุษย์ในการปะทะสังสรรค์ทางสังคม

สถานภาพและบทบาท
เมื่อบุคคลดำรงตำแหน่งในสังคมหรือกลุ่มคน บุคคลนั้นย่อมแสดงบทบาท (Role) ตามตำแหน่งนั้น ๆ เพราะฉะนั้นโดยปกติวิสัยแล้ว สถานภาพและบทบาทจึงเป็นสิ่งที่ควบคู่กันไป
อย่างไรก็ดี บทบาทหรือการปฏิบัติหน้าที่ย่อมขึ้นอยู่กับบุคคลที่เข้าดำรงตำแหน่งนั้น ๆ เพราะฉะนั้น บทบาทจึงเป็นรูปแบบที่เคลื่อนไหวหรือรูปการทาง พฤติกรรมของตำแหน่ง ขอยกตัวอย่างเช่น นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยย่อมมี บรรทัดฐานหรือแนวทางปฏิบัติบางประการ กล่าวคือ มีสิทธิหน้าที่และอภิสิทธิ์ต่าง ๆ แต่บทบาทหรือการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีของแต่ละคนย่อมแตกต่างกันออกไป
ความแตกต่างระหว่างบทบาทและตำแหน่งที่เกิดขึ้นนั้น ก็เพราะว่า "ตำแหน่ง" เป็นแนวความคิดทางสังคมวิทยา ส่วน "บทบาท" นั้น เป็นแนวความคิดทางจิตวิทยาทางสังคม เพราะฉะนั้น บทบาทจึงเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอในเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงคนใหม่ที่มาดำรงตำแหน่งนั้น

สถานภาพโดยกำเนิดและสถานภาพโดยการกระทำ
สังคมวิทยาได้แบ่งสถานภาพออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
     1) สถานภาพโดยกำเนิด (Ascribed status)
     2) สถานภาพโดยการกระทำ (Achieved status) 

1) สถานภาพโดยกำเนิด
เป็นเรื่องของการที่บุคคลนั้นได้รับสถานภาพ มาโดยเงื่อนไขทางชีวภาพ นั่นคือ พอเกิดขึ้นมาในโลกก็ได้รับเลย ซึ่งพอแยกอธิบาย ดังต่อไปนี้
1.สถานภาพทางวงศาคณาญาติ (Kinship status) คือ บุคคลย่อมมีความผูกพันกับครอบครัว เช่น เป็นลูกของพ่อแม่ เป็นพี่ของน้อง เป็นต้น
2.สถานภาพทางเพศ (Sex status) คือ บุคคลเกิดมาเป็นเพศใด เป็นชายหรือหญิง บุคคลนั้นก็จะย่อมได้รับสถานภาพทางเพศ ซึ่งย่อมมีบทบาท (สิทธิหน้าที่)ที่ต่างกัน
3.สถานภาพทางอายุ (Age status) คือ บุคคลได้รับสถานภาพตามเกณฑ์อายุของตน เช่น กฎหมายไทยบัญญัติไว้ว่า ชายและหญิงจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ เพราะฉะนั้นสิทธิและหน้าที่ของบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว กับบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะย่อมแตกต่างกัน
4.สถานภาพทางเชื้อชาติ (Race status) คือ บุคคลที่เกิดมาจากชาติใดก็มีสถานภาพตามบรรทัดฐานของเชื้อชาตินั้น ๆ เช่น เชื้อชาติไทยและเชื้อชาติจีน เป็นต้น
5.สถานภาพทางท้องถิ่น (Regional status) คือ บุคคลที่เกิดมาใน ถิ่นฐานใด เช่น คนที่เกิดทางภาคเหนือของไทยก็ได้รับสถานภาพเป็นคนเหนือ เกิดที่ภาคใต้ก็ ได้รับสถานภาพเป็นคนใต้ เป็นต้น
6.สถานภาพทางชนชั้น (Class status) บุคคลที่เกิดมาจากครอบครัวของชนชั้นสูง คือ มีฐานะดี ย่อมได้รับการศึกษาสูงอีกด้วย และได้รับสถานภาพเป็นชนชั้นสูง

2) สถานภาพโดยการกระทำ
สถานภาพประเภทนี้เป็นสถานภาพที่ได้มาภายหลังอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของการกระทำของตน ดังจะอธิบาย ดังต่อไปนี้
1.สถานภาพทางสมรส (Marital status) คือ บุคคลจะได้รับสถานภาพของความเป็นสามี – ภรรยาภายหลังที่ได้ทำการสมรสแล้ว
2.สถานภาพทางบิดามารดา (Parental status) บุคคลจะได้รับ สถานภาพของความเป็นบิดา – มารดา ก็ต่อเมื่อบุคคลนั้น ๆ มีบุตร
3.สถานภาพทางการศึกษา (Educational status) บุคคลที่ได้รับ การศึกษาสูง ๆ เช่น ในชั้นอุดมศึกษา ย่อมได้รับสถานภาพทางการศึกษาตามวุฒิที่ตน ได้มา เช่น เป็นบัณฑิต เป็นมหาบัณฑิต หรือ ดุษฎีบัณฑิต
4.สถานภาพทางอาชีพ (Occupational status) สังคมประชาธิปไตยเปิดโอกาสให้บุคคลได้มีโอกาสแข่งขันกันในด้านความสามารถเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ บุคคลย่อมได้รับสถานภาพตามประเภทอาชีพ เช่น ช่างฝีมือ ความเป็นหมอ
5.สถานภาพทางการเมือง (Political status) บุคคลที่สนใจและอยู่ในวงการเมือง ย่อมได้รับสถานภาพทางการเมือง เช่น เป็นสมาชิกของพรรค 

ข้อ ใด เป็น สถานภาพที่ได้มา ด้วย ความสามารถ

http://www.baanjomyut.com/library/social_sciences/14.html

ข้อ ใด เป็น สถานภาพที่ได้มา ด้วย ความสามารถ

สถานภาพทางสังคมใดที่ได้มาจากความสามารถ

สถานภาพ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.สถานภาพที่ติดตัวมาโดยสังคมเป็นผู้กำหนด เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ เครือญาติ 2.สถานภาพที่ได้มาโดยความสามารถ ได้แก่ การประกอบอาชีพ การศึกษา การสมรส เช่น บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย

ข้อใดเป็นสถานภาพโดยความสามารถ

2. สถานภาพโดยความสามารถของบุคคล หรือสถานภาพสัมฤทธิ์ เป็นสถานภาพที่บุคคลได้มาโดยการใช้ความรู้ ความสามารถ มีตัวอย่างดังนี้ - สถานภาพที่ได้จากการศึกษา เช่น เป็นครู อาจารย์ ผู้อำนวยการโรงเรียน นักเรียน นักศึกษา คณบดี และอธิการบดี ฯลฯ

ข้อใดคือสถานภาพติดตัว

สถานภาพที่ติดตัวมาโดยสังคมเป็นผู้กำหนด ได้แก่ สถานภาพทางญาติกัน ทางเพศ อายุ ทางเชื้อชาติ และถิ่นกำเนิด เช่น เด็กชาย เด็กหญิง วงศ์ตระกูล ลูกหลาน น้องสาว ฯลฯ

ข้อใดคือสถานภาพ

1) สถานภาพ หมายถึง ตำแหน่งที่บุคคลได้รับจากการเป็นสมาชิกของสังคม แบ่งออกเป็นสถานภาพที่ได้มาโดยกำเนิด เช่น ลูก หลาน คนไทย เป็นต้น และสถานภาพทางสังคม เช่น ครู นักเรียน แพทย์ เป็นต้น 2) บทบาท หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิ หน้าที่อันเนื่องมาจากสถานภาพของบุคคล เนื่องจากบุคคลมีหลายสถานภาพ