ข้อใด เป็นการ อนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน

เพลงพื้นบ้าน คือ บทเพลงที่เกิดจากคนในท้องถิ่นต่างๆ คิดรูปแบบการร้อง การเล่น เป็นบทเพลงที่มีท่วงทำนอง ภาษาเรียบง่ายไม่ซับซ้อน มุ่งความสนุกสนานรื่นเริง ใช้เล่นกันในโอกาสต่างๆ เช่น สงกรานต์ ตรุษจีน ลอยกระทง ไหว้พระประจำปี หรือแม้กระทั่งในโอกาสที่ได้มาช่วยกันทำงาน ร่วมมือร่วมใจเพื่อทำงาน อย่างหนึ่งอย่างใด เช่น เกี่ยวข้าว นวดข้าว เป็นต้น


พลันที่ ศ.(พิเศษ)ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (รมว.อว.) ได้ยินเพลงพื้นบ้านที่ รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข ใส่สำเนียงให้เป็นเพลงคลาสสิค ได้เกิดความสนใจและเห็นความสำคัญของเรื่องนี้เป็นอย่างมาก จึงได้ขอให้สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พิจารณาสนับสนุนทุนเพื่อสร้างเพลงพื้นบ้านเชิงนวัตกรรมให้กลับมาได้รับความนิยมในโลกยุคใหม่
“ดนตรีและการแสดงเป็นวิชาของจิตใจ ไม่ได้เป็นเพียงแต่ความสนุกสนานเท่านั้น เพราะสามารถส่งกำลังใจ สร้างความสามัคคีของปวงชนให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขได้” รมว.อว. กล่าวถึงแรงบันดาลใจ

ข้อใด เป็นการ อนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน

ในฐานะที่เป็นรัฐมนตรี อว. และต้องการชักนำให้คนในกระทรวง อว. สนใจไม่เฉพาะศาสตร์ที่เป็นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเท่านั้น แต่ศาสตร์อื่นๆ ที่เป็นศาสตร์อ่อนโยน เช่นดนตรี ศิลปะ ก็อยากจะชักชวนให้ไปดูไปชมกัน หวังว่าจะขยายตัวเป็นวงกว้างต่อไปเรื่อยๆ โดยเฉพาะในช่วงที่ไวรัสโควิด-19 ระบาด ได้พิสูจน์แล้วว่าดนตรีนอกจากจะชโลมจิตใจในยามที่บ้านเมืองขับขันเวลานี้ ไม่ได้เป็นแค่การรักษาความเจ็บปวดระหว่างวัน แต่ยังสามารถช่วยบำบัดในช่วงสถานการณ์โควิดด้วย ทำให้เห็นว่ามีคนจำนวนหนึ่งต่อสู้ให้พวกเราอยู่ที่แนวหน้า เขาควรจะได้รับการรักษาความเจ็บปวดระหว่างวัน จำเป็นอย่างยิ่งว่า เราจะต้องคิดใช้ดนตรีที่มีคุณค่ามากส่งไปถึงท่านทั้งหลายที่กำลังต่อสู้กับภัยโควิด ถ้าทำได้สำเร็จเราจะก้าวไปอีกขั้นหนึ่งคือเป็นดนตรีที่ใช้แสดงได้ทุกเวลา ทั้งในเวลาปกติและในเวลาวิกฤต
ข้อใด เป็นการ อนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน
ศ.(พิเศษ)ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (รมว.อว.)

“อว. สนใจที่จะรักษาเพลงโบราณ เพลงไทยเดิม ให้เป็นเอกลักษณ์ของชาติ จึงผุดโครงการขยายผลต่อยอดนวัตกรรมเพลงพื้นบ้านเพื่อเผยแพร่ให้เป็นมรดกของชาติ ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ เพื่อที่เราจะได้รักษาเพลงไทยเดิมมากที่สุด โลกาภิวัตน์ปัจจุบันไม่ได้เป็นการรับอารยธรรมของโลกตะวันตกอีกต่อไป แต่เป็นการผสมผสานเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น เป็นการนำเอาอดีตเพลงไทยโบราณมาสร้างอนาคต สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย การที่จะทำแบบนั้นได้ ต้องประยุกต์ใส่ซิมโฟนี เพื่อเจาะตลาดโลกได้ คนทั้งโลกจะได้รู้จักประเทศไทยได้มากยิ่งขึ้น เหมือน นวดแผนไทย อาหารไทย มวยไทย ที่สร้างอิทธิพลแก่คนทั้งโลก เราต้องเปลี่ยนความคิดเดิม และนำสิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของไทยต่างๆ มาสร้างอนาคตให้กับประเทศไทย”

ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ถือเป็นข้อต่อสำคัญที่ได้นำนโยบายของ รมว.อว ไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม เกิดเป็นผลงานการวิจัย “โครงการวิจัยพื้นที่ทางวัฒนธรรมดนตรีเพื่อพัฒนาและสร้างสรรค์จินตนาการใหม่ โดยอาศัยร่องรอยวิถีชีวิตของชุมชนผ่านศิลปินในท้องถิ่นผู้สืบทอดวัฒนธรรมดนตรีของชุมชน” และ “โครงการขยายผลต่อยอดวัฒนธรรมเพลงพื้นบ้านเพื่อเผยแพร่ให้เป็นมรดกชาติ” ที่ วช. ได้สนับสนุน “มูลนิธิอาจารย์สุกรี เจริญสุข” ในการวิจัยเพื่ออนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม โดยการค้นหาเพลงเก่าของชุมชนในพื้นที่ต่างๆ นำมาเรียบเรียงใหม่ พร้อมเล่นผ่านวงดนตรีซิมโฟนีออร์เคสตร้า เพื่อรักษาเพลงเก่า นำมาเสนอในรูปแบบใหม่ เป็นการกระตุ้นให้เกิดการเสริมสร้างสิ่งใหม่บนรากฐานสิ่งเก่า รักษาเสถียรภาพและอัตลักษณ์ของสังคมไทยให้สืบทอดและคงอยู่ต่อไป

ข้อใด เป็นการ อนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน

เริ่มต้นด้วยการแสดงบรรเลงเพลงพื้นบ้านภาคกลางที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การแสดงบรรเลงเพลงพื้นบ้านภาคใต้ที่จังหวัดกระบี่ การแสดงบรรเลงเพลงพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดบุรีรัมย์ และการแสดงบรรเลงเพลงพื้นบ้านภาคเหนือ จังหวัดลำปาง
รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข หัวหน้าโครงการวิจัยฯ กล่าวถึงความรู้สึกที่ได้อัพเกรดวัฒนธรรมครั้งนี้ว่า โครงการนี้ถือเป็นการปลุกจิตสำนึกให้คนได้ร่วมกันอนุรักษ์เพลงพื้นบ้านให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย และยังถือเป็นการอนุรักษ์และต่อยอดพัฒนาดนตรีพื้นบ้านให้เป็นที่ยอมรับของคนทั่วโลกผ่านวงซิมโฟนีออเคสต้า และที่สำคัญยังเป็นการกระตุ้นให้เกิดการเสริมสร้างสิ่งใหม่บนรากฐานสิ่งเก่า รักษาเสถียรภาพและอัตลักษณ์ของสังคมไทยให้อยู่ให้อยู่สืบทอดต่อไป

ข้อใด เป็นการ อนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน

ข้อใด เป็นการ อนุรักษ์เพลงพื้นบ้าน

จับตาดูการนำนวัตกรรมมาผลักดันเพลงพื้นบ้านเพื่อโกอินเตอร์ครั้งนี้ จะสร้างปรากฏการณ์ใหม่ในตลาดโลกได้เหมือนกับ “มวยไทย” หรือ “อาหารไทย” อย่างไรบ้าง

Post Views: 1,407

การอนุรักษ์เพลงพื้นบ้านมีอะไรบ้าง

แนวทางในการอนุรักษ์ดนตรีไทย ให้คงอยู่สืบต่อไป รณรงค์ให้ประชาชน เล็งเห็นถึงความสำคัญ โดยเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องให้การรับผิดชอบร่วมกัน ตลอดจนประสานงานรื่นเริง รวมทั้งทุนทรัพย์ในการจัดกิจกรรมทางด้านดนตรีไทย ส่งเสริม – แลกเปลี่ยนดนตรีภายในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน

เพลงพื้นบ้านคือข้อใดต่อไปนี้

เพลงพื้นบ้าน คือ เพลงของท้องถิ่นที่ชาวบ้านจดจำสืบทอดกันมาแบบปากเปล่า ใช้ร้องเล่นเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง และถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกโดยใช้ถ้อยคำที่ง่ายๆ แต่ใช้โวหารหรือการเปรียบเทียบที่คมคาย เน้นเสียงสัมผัส และจังหวะการร้องเป็นสำคัญ ประวัติของเพลงพื้นบ้าน

ข้อใดคือเพลงพื้นบ้านทั้งหมด

เพลงเรือ.
เพลงเต้นกำ.
เพลงพิษฐาน.
เพลงระบำบ้านไร่.
เพลงอีแซว.
เพลงพวงมาลัย.
เพลงเหย่อย.
เพลงฉ่อย.

ข้อใดให้ความหมายของดนตรีพื้นบ้าน

ดนตรีพื้นบ้าน คือ ดนตรีและเพลงที่ปรากฏอยู่ในท้องถิ่นของแต่ละภูมิภาค ที่แสดงออกถึงภูมิปัญญา เฉพาะของท้องถิ่นนั้นๆ และยึดถือปฏิบัติสืบทอดต่อกันมาจนเป็นที่ยอมรับร่วมกันในกลุ่มสังคมและ วัฒนธรรมนั้น