ข้อใดมีความ หมาย ใกล้ เคียง กับ สํา น. วน นกสองหัว มากที่สุด

  1. ฝนสั่งน้ำ ปลาสั่งถ้ำ จระเข้สั่งถ้ำ. หมายความว่าอย่างไร

ก. ต่างฝ่ายต่างร้ายเข้าหากัน                             ข. คิดถึงกำไรและขาดทุนอย่างรอบคอบ

ค. ทำการใหญ่เป็นครั้งสุดท้าย                         ง. ทำสิ่งที่สำเร็จได้ยาก

ตอบ  ก. ต่างฝ่ายต่างร้ายเข้าหากัน

  1. ข้อใดอธิบายคำพังเพยที่ว่า .อย่าติเรือทั้งโกลน.

ก. คนที่พูดอะไรพล่อย ๆ ย่อมได้รับอันตราย

ข. มีความพิถีพิถันถึงช้าแต่ก็ได้ผลดี

ค. สอนผู้ที่มีความรู้ดีกว่าตน

ง. สิ่งที่คนอื่นทำไม่สำเร็จอย่าไปตำหนิ

ตอบ  ง. สิ่งที่คนอื่นทำไม่สำเร็จอย่าไปตำหนิ

  1. เขาเป็นคำไม่แน่นอน โลเลเหมือน…….

ก. ไม้หลักปักเลน                                               ข. คิดหน้าคิดหลัง

ค. ไม้เบื่อไม้เมา                                                  ง. แจงสี่เบี้ย

ตอบ  ก. ไม้หลักปักเลน

  1. พ่อของอรวรรณบังคับให้อรวรรณแต่งงานกับคนอื่น ตรงกับสำนวนใด

ก. น้ำขึ้นให้รีบตัก                                               ข. คลุมถุงชน

ค. น้ำขึ้นให้รีบตัก                                               ง. น้ำกลิ้งบนในบอน

ตอบ  ข. คลุมถุงชน

  1. สำนวนใดมีความหมายคล้ายคลึงกันมากทีสุด

ก. เกลือเป็นหนอน . สาวไส้ให้กากิน            ข. หน้าซื่อใจคด – หน้าไว้หลังหลอก

ค. ปากว่าตาขยิบ . ยักคิ้วหลิ่วตา                       ง. ขิงก็ราข่าก็แรง . ขนมพอสมน้ำยา

ตอบ  ข. หน้าซื่อใจคด – หน้าไว้หลังหลอก

  1. นายสมคิด แสดงกริยาดีใจเมื่อเข้าสอบได้ ตรงกับสำนวนใด

ก. กระดี่ได้น้ำ                                                      ข. ขนทรายเข้าวัด

ค. งอมพระราม                                                   ง. เจ้าไม่มีศาล

ตอบ  ก. กระดี่ได้น้ำ           

  1. ปัจจุบันน้ำมันมีราคาแพง ราคาสิ่งของก็ขึ้นตามไปด้วยมารับประทานก็ขัดสนไปหมด

ก. เข้าตาจน                                                          ข. คาบลูกคาบดอก

ค. จนแต้ม                                                            ง. ข้าวยากหมากแพง

ตอบ   ง. ข้าวยากหมากแพง

  1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสุภาษิต

ก. น้ำลดต่อผุด                                                     ข. น้ำตาลใกล้มด

ค. น้ำน้อยแพ้ไฟ                                                                 ง. ชันน้ำเข้าลึก ชักศึกเข้าบ้าน

ตอบ  ก. น้ำลดต่อผุด

  1. นายเอกซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินบอกให้นางน้อยไปสร้างบ้านที่อื่น ถ้าไม่ไปจะฟ้องศาล ตรงกับสำนวนใด

ก. เขียนเสือให้วัวกลัว                                        ข. ไล่ที่ทำวัง

ค. ข้าวแดงแกงร้อน                                            ง. เต่าใหญ่ไขกลบ

ตอบ  ข. ไล่ที่ทำวัง

  1. สำนวนข้อใดผิด

ก. เงียบเหมือนเป่าสาก                                      ข. ดำเหมือนถ่าน

ค. อาภัพเหมือนปูน                                           ง. หน้าบานเท่ากระด้ง

ตอบ    ข. ดำเหมือนถ่าน

  1. คำว่า .กินน้ำใต้ศอก. มีความหมายว่า

ก. ฐานะต่ำกว่า                                                    ข. ด้วยวาสนา

ค. เป็นฝ่ายเสียเปรียบ                                         ง. เป็นฝ่ายเสียหาย

ตอบ    ค. เป็นฝ่ายเสียเปรียบ

  1. ข้อใดถือว่าเป็น .พุทธสุภาษิต.

ก. ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน                                ข. ฆ่าความเสียดายพริก

ค. งูเห็นนมไก่                                                     ง. วานรได้แก้ว

ตอบ  ก. ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน

  1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเป็น .สุภาษิตพระร่วง.

ก. จงเตือนตนด้วยตน                                        ข. วัวแก่ชอบกินหญ้าอ่อน

ค. น้ำพึ่งเรือ เสือผึ่งป่า                                       ง. เข้าเถือนอย่าลือพร้า

ตอบ  ง. เข้าเถือนอย่าลือพร้า

  1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเป็น .สุภาษิตโลกนิติ.

ก. การไม่ทำบาปนำสุขมาให้                            ข. อาสาเจ้าจนตัวตาย อาสานายจนพอแรง

ค. เดินทางอย่าเดินเปลี่ยว                                  ง. ท่านรักตนจงรักตอบ

ตอบ  ข. อาสาเจ้าจนตัวตาย อาสานายจนพอแรง

  1. สำนวนในข้อใดมิได้เกิดจากวรรณคดี

ก. ชักใบให้เรือเสีย                                             ข. ชักแม่น้ำทั้งห้า

ค. กลัวดอกพิกุลจะร่วง                                      ง. สิบแปดมงกุฎ

ตอบ  ก. ชักใบให้เรือเสีย

ข้อใดคือความหมายของสํานวน

สำนวนไทย คือถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า สำนวน คือถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือความที่เรียบเรียงขึ้นในเชิงอุปมาอุปไมยโดยมีนัยแฝงเร้นซ่อนอยู่อย่างลึกซึ้ง แยบคาย เพื่อให้ผู้รับได้ไปตีความ ทำความเข้าใจด้วยตนเองอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งอาจแตกต่าง ...

สํานวนเปรียบเทียบหมายถึงข้อใด

สำนวนเปรียบเทียบ หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นชั้นเชิง ไม่ตรงตามรูปภาษา มีลักษณะ เฉพาะตัว มีความหมายเป็นนัยแฝงอยู่ กินความกว้างหรือลึกซึ้ง นำมาใช้ให้มีความหมาย แตกต่างไปจากความหมายเดิมของคำ ๆ นั้น หรืออาจจะมีความหมายเปรียบเทียบกับสิ่งใด สิ่งหนึ่ง มักใช้ถ้อยคำที่ไม่ยาวมาก คมคาย ลึกซึ้งกินใจ ต้องอาศัยการตีความจึงจะเข้าใจ

สิ่งที่เป็นภัยอยู่ใกล้ตัวตรงกับสํานวนใด

5. "สิ่งที่เป็นภัยอยู่ใกล้ตัว" ใช้สำนวนว่าอย่างไร ก. หนีเสือปะจระเข้

ปัดสวะ” มีความหมายตรงกับข้อใด

เมื่อใช้เป็นสำนวนว่า ปัดสวะ หมายถึง ปัดความรับผิดชอบหรือโยนภาระหน้าที่ไปให้ผู้อื่น จึงมักมีวลีต่อท้ายสำนวนว่า ปัดสวะให้พ้นตัว หรือปัดสวะให้ผู้อื่น