พยัญชนะต้นในข้อใดมี เสียงพยัญชนะ เดียวกัน มากที่สุด

แบบทดสอบทบทวนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง หลักการใช้ภาษาที่มา คู่มือครู่สอนทางไกลผ่านดาวเทียม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551รวบรวมโดย อารจารย์ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด

26. การที่คนบางกลุ่มออกเสียงคำว่า “เต้าเจี้ยว” เป็นคำว่า “เจ้าเจี้ยว” แสดงว่าภาษามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

1. เกิดการกร่อนเสียง2. เกิดการผลักเสียง3. เกิดการกลมกลืนเสียง4. เกิดการสลับที่ของเสียงคลิกดูเฉลย

27. คำในข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากคำอื่น

1. มะพร้าว2. กระดุม3. วะวับ4. ตะเข้คลิกดูเฉลย

28. ข้อใดไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา

1. การแปรของภาษาตามระดับภาษาและสถานการณ์2. การพูดในชีวิตประจำวัน3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม4. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศคลิกดูเฉลย

ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 29-32

ร้าง ศาสตร์ ฉก หยุด เพชร วุ่น เพศ
สั่ง ชาติ พากย์ ภาพ อยาก เมฆ ค่ำ
ผัด ซัด เวร ซึ้ง พรรค ด้วง โรค
หนอน เพล ยาก หญิง เลข ลิ้น ฉัตร

29. คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกันตั้งแต่ 3 คำขึ้นไปมีทั้งหมดกี่ชุดคำ

1. 5 ชุด2. 4 ชุด3. 3 ชุด4. 2 ชุดคลิกดูเฉลย

30. คำที่มีเสียงสระ “เอ” มีทั้งหมดกี่คำ

1. 7 คำ2. 6 คำ3. 5 คำ4. 4 คำคลิกดูเฉลย

31. คำที่สะกดในมาตราแม่กก มีมากกว่าคำที่สะกดในมาตราแม่กดกี่คำ

1. มีจำนวนเท่ากัน2. 1 คำ3. 2 คำ4. 3 คำคลิกดูเฉลย

32. จากรายการคำข้างต้น มีคำที่มีเสียงวรรณยุกต์ใดน้อยที่สุด

1. เอก2. โท3. ตรี4. จัตวาคลิกดูเฉลย

คำสั่ง จงเติมคำหรือข้อความสั้น ๆ เพื่อตอบคำถาม ให้วิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสารต่อไปนี้

"นิดโบกมือลาแดงก่อนไปขึ้นเครื่องบิน"

33. ผู้ส่งสาร : ………………………………

ตอบ นิด

34. ผู้รับสาร : ………………………………

ตอบ แดง

35. สื่อ : ………………………………

ตอบ มือ

36. สาร : ………………………………

ตอบ ลา

"ป้ายห้ามส่งเสียงดังในห้องสมุด"

37. ผู้ส่งสาร : ………………………………

ตอบ ผู้เขียนป้าย

38. ผู้รับสาร : ………………………………

ตอบ ผู้อ่านป้าย

39. สื่อ : ………………………………

ตอบ ป้าย

40. สาร : ………………………………

ตอบ ห้ามส่งเสียงดัง

เสียงในภาษา

41. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ภาษาต่างประเทศ

1. เดิน2.ทบ3. ปราบ4. ระฆังคลิกดูเฉลย

42. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย

1. วางคำขยายหลังคำหลัก2. ไม่เปลี่ยนรูปคำเพื่อบอกเพศ พจน์ กาล3. มีเสียงควบกล้ำในพยัญชนะท้าย4. มีลักษณะเหมือนเสียงดนตรีคลิกดูเฉลย

43. คำควบกล้ำในข้อใดมีเสียงควบกล้ำเป็นเสียงที่มีมาตั้งแต่ภาษาไทยดั้งเดิม

1. เฟรนฟรายด์2. บรั่นดี3. คริสตัล4. จันทราคลิกดูเฉลย

44. จากลักษณะต่อไปนี้ ข้อใดไม่สามารถจำแนกคำไทยได้

1. มักจะเป็นคำพยางค์เดียว2. มักจะสะกดตรงมาตรา3. มีความหมายในตัวเอง4. เป็นคำที่อ่านเนื่องเสียงคลิกดูเฉลย

45. ข้อใดต่างจากพวก

1. แสร้ง2. เศร้า3. ทราบ4. ผลิคลิกดูเฉลย
46. เป็นศรีแก่ปากผู้ 		ผจงฉันท์
คือคู่มาลาสรร เรียบร้อย
เป็นถนิมประดับกรรณ ทุกเมื่อ
กลกระแจะต้องน้อย หนึ่งได้แรงใจ

ข้อความนี้มีเสียงควบกล้ำและอักษรนำอย่างละกี่คำ

1. ควบกล้ำ 2 คำ อักษรนำ 2 คำ2. ควบกล้ำ 2 คำ อักษรนำ 3 คำ3. ควบกล้ำ 3 คำ อักษรนำ 2 คำ4. ควบกล้ำ 4 คำ อักษรนำ 4 คำคลิกดูเฉลย

จงใช้ข้อความต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 47-48

“อันน้ำใจกวนอูนั้น ถ้าผู้ใดมีคุณแล้วเห็นจะเป็นเหมือนอิเยียว อันเล่าปี่กับกวนอูนั้นมิได้เป็นพี่น้องกัน ซึ่งมีความรักกันนั้น เพราะได้สาบานต่อกัน เล่าปี่เป็นแต่ผู้น้อย เลี้ยงกวนอูไม่ถึงขนาด กวนอูยังมีน้ำใจกตัญญูต่อเล่าปี่ จึงคิดจะติดตามมิได้ทิ้งเสีย...”

โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล

        ตามปกติแล้วผู้เยาว์จะทำนิติกรรมต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ถ้าไม่ได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมแล้ว จะทำให้นิติกรรมนั้นเป็นโมฆียะ แต่มีนิติกรรมบางประเภทที่ผู้เยาว์สามารถทำได้ตามลำพังตนเอง และมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย โดยไม่ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม นิติกรรมเหล่านี้มีดังนี้คือ
        1. นิติกรรมที่ทำให้ผู้เยาว์ได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง หรือนิติกรรมที่ทำให้ผู้เยาว์หลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหนึ่ง (มาตรา 22)
                1.1 นิติกรรมที่ทำให้ผู้เยาว์ได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง เช่น นาย ก. มอบเงินให้เด็กชาย ข. ผู้เยาว์ 20,000 บาท โดยไม่มีเงื่อนไขหรือค่าภาระติดพัน เด็กชาย ข. สามารถทำสัญญารับเงินจำนวนนี้ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม เพราะสัญญาให้เงินนี้ผู้เยาว์เป็นผู้ได้รับประโยชน์ฝ่ายเดียว ผู้เยาว์ไม่เสียประโยชน์เลย แต่ถ้าสัญญานี้มีเงื่อนไขหรือค่าภาระติดพันแล้ว ผู้เยาว์ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน เช่น นาย ก. ให้เงินเด็กชาย ข. โดยมีเงื่อนไขว่า เมื่อนาย ก. แก่ชรา เด็กชาย ข. ต้องมาเลี้ยงดูนาย ก. เช่นนี้ถ้าเด็กชาย ข. ต้องการรับเงินนั้น จะต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรมเสียก่อน
                1.2 นิติกรรมที่ทำให้ผู้เยาว์หลุดพ้นจากหน้าที่อันใดอันหนึ่ง เช่น เด็กชาย  ข. ผู้เยาว์เป็นหนี้นาย ก. อยู่ 10,000 บาท ต่อมานาย ก. ต้องการจะปลดหนี้รายนี้ให้เด็กชายข. ซึ่งจะทำให้หนี้รายนี้ระงับสิ้นไป สัญญาปลดหนี้รายนี้เด็กชาย ข.ไม่ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม เพราะเป็นสัญญาที่ทำให้เด็กชาย ข. หลุดพ้นจากการที่จะต้องชำระหนี้ให้กับนาย ก.
        2. นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องทำเองเฉพาะตัว ผู้เยาว์อาจทำการใด ๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว (มาตรา 23) นิติกรรมเช่นนี้ผู้เยาว์ทำได้เองโดยไม่ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม เช่น การรับรองบุตร
        ตัวอย่าง ผู้เยาว์อายุ 19 ปีมีบุตรที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1 คน ผู้เยาว์จดทะเบียนรับรองบุตรคนนี้ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม
        3. นิติกรรมซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูป และจำเป็นในการดำรงชีพตามสมควรของผู้เยาว์
        ผู้เยาว์อาจทำการใด ๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตน และเป็นการอันจำเป็นในการดำรงชีพตามสมควร (มาตรา 24) เช่น ผู้เยาว์เป็นนักเรียนต้องซื้อเครื่องเขียนแบบเรียน ต้องซื้อเสื้อผ้า รองเท้าเพื่อใส่ไปโรงเรียน การซื้อเช่นนี้เป็นการสมแก่ฐานานุรูปของผู้เยาว์ และเป็นการจำเป็นในการดำรงชีพตามสมควร แต่ถ้าผู้เยาว์ต้องการซื้อรถยนต์เพื่อขับไปโรงเรียน ถ้าเป็นสิ่งที่เกินฐานะและเกินความ จำเป็นแล้ว ผู้เยาว์จะต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรมเสียก่อน
        4. ผู้เยาว์ทำพินัยกรรม
        ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุ 15 ปีบริบูรณ์ โดยไม่ต้องขออนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม (มาตรา 25) ถ้าผู้เยาว์ทำพินัยกรรมโดยมีอายุไม่ถึง 15 ปีบริบูรณ์ พินัยกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะ (มาตรา 1703)
        5. ผู้เยาว์ประกอบธรุกิจการค้าหรือทำสัญญาเป็นลูกจ้าง
        ในกรณีผู้เยาว์ประกอบธุรกิจทางการค้าหรือธุรกิจอื่น หรือในการทำสัญญาเป็นลูกจ้างในสัญญาจ้างแรงงานนั้นต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดไว้ (มาตรา 27)

ข้อใดออกเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน

1. เสียงพยัญชนะเดี่ยว = ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียว เช่น มา วิน ตี นุก หมู 2.เสียงพยัญชนะประสม ออกเสียงเสียงพยัญชนะต้นสองเสียงควบกัน เช่น กราบ ความ ปราม ไตร - ผิ ออกเสียงพยัญชนะต้น 1 เสียง คือ /ผ/

พยัญชนะไทยตัวใดมีเสียงซ้ำกันมากที่สุด

เสียงพยัญชนะใดมีเสียงซ้ำกัน มากที่สุด ค ช

พยัญชนะต้นเดี่ยวมีทั้งหมดกี่เสียง

พยัญชนะต้นเดี่ยว ของไทยมี 21 เสียง คือ พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ดังนี้

ข้อใดเป็นพยัญชนะต้นเสียงควบ

พยัญชนะควบกล้ำ (ควบ ร ล) คือ คำที่มีพยัญชนะต้น 2 ตัวเรียงกัน พยัญชนะต้นตัวที่ 2 จะเป็น ร หรือ ล ประสมสระเดียวกัน เวลาอ่านจะออกเสียงพยัญชนะต้นตัวหน้า ควบกับ ร ล เป็นเสียงควบกล้ำ (อ่านออกเสียงพยัญชนะต้น 2 ตัวพร้อมกัน เช่น เช่น - ก ข ค ป พ ต จะควบ ร ได้แก่ กราบ ขรุขระ ครบปราบ พระ ตรี เป็นต้น