วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

- ฟังก์ชั่นเอ็กโพเนนเชียล (exponential fuction) เป็นฟังก์ชั่นเพิ่มหรือลดในฟัง ก์ชั่นของรูปเอ็กโพเนนเชียล

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

รูปฟังก์ชั่นต่าางๆหากนำมารวมหรือต่อเนื่องกันจะได้รูป คลื่นทางไฟฟ้าดังนี้
1. รูปคลื่นสี่เหลี่ยม (rectangula waveform) เกิดจากการรวมตัวของฟังก์ชั่นขั้น บันไดขึ้นและขั้นบันไดลง ถ้าช่วงเวลา t1 และ t2 เท่ากัน จะเรียกว่ารูปคลื่น สี่เหลี่ยมจตุ รัส (square wave) แต่หาก t1 ไม่เท่ากับ t2 เรียกว่า (pulse wave)

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

ค่าเฉลี่ย ของคลื่นสี่เหลี่ยม square wave Vav = (Vp*t1)/T
ค่าประสิทธิผล Vrms = Vp*squareroot (t1 / T)

Vav = แรง ดันเฉลี่ยรูปคลื่นสี่เหลี่ยม
Vrms = แรงดันประสิทธิผล
Vp = แรงดัน พีค ทู พีค
t1 = คาบเวลาที่ปรากฏรูปคลื่น
T = คาบเวลาของรูปคลื่น

2. รูปคลื่นสามเหลี่ยม (Triangula waveform) เป็นรูปคลื่นที่เกิดจากการรวม ตัวของฟังก์ชั่นลาดเอียงแบบบวกกับแบบลบ

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

ค่าเฉลี่ย ของคลื่นสามเหลี่ยม Vav = (Vp*t1)/T
ค่าประสิทธิผล Vrms = Vp*squareroot (4t1 / 3T)

Vav = แรง ดันเฉลี่ยรูปคลื่นสามเหลี่ยม
Vrms = แรงดันประสิทธิผล
Vp = แรงดัน พีค ทู พีค
t1 = คาบเวลาที่ปรากฏรูปคลื่น
T = คาบเวลาของรูปคลื่น

3. รูปคลื่นฟันเลื่อย (sawtooth waveform) เป็นรูปคลื่นที่เกิดจากการรวม ตัวของฟังก์ชั่นลาดเอียงกับฟังก์ชั่นขั้นบันได

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

ค่าเฉลี่ย ของคลื่นฟันเลื่อย Vav = Vp/2
ค่าประสิทธิผล Vrms = Vp*squareroot 3

Vav = แรง ดันเฉลี่ยรูปคลื่นฟันเลื่อย
Vrms = แรงดันประสิทธิผล
Vp = แรงดัน พีค ทู พีค
T = คาบเวลาของรูปคลื่น

4. รูปคลื่นเอ็กโพเนนเชียล (exponntial waveform) เป็นรูปคลื่นที่เกิดจากการรวมตัวของฟังก์ชั่น เอ็กโพเนนเชียลแบบบวกกับแบบลบ

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

Vav = แรง ดันเฉลี่ยรูปคลื่นโพเนนเชียล
Vrms = แรงดันประสิทธิผล
Vp = แรงดัน พีค ทู พีค
T = คาบเวลาของรูปคลื่น

ลักษณะ และคุณสมบติของรูปคลื่นพัล ส์

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

1. แอมปลิจูดของพัลส์ (pulse amplitude) หมายถึง ขนาดความสูงของรูปคลื่นเมื่อวัดเทียบกับกราวด์
2. ขอบนำหน้าพัลส์ (leading edge) หมายถึง ขอบแรกที่ปรากฏ
3. ขอบตามหลังพัลส์ (trailing edge) หมายถึง ขอบที่สองที่ปรากฏ
4. ความกว้างของพัลส์ (pulse width) หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ขอบนำหน้าถึงขอบตามหลังของพัลส์ลูกเดียวกัน tp หรือ pw หน่วยเป็นวินาที
5. ช่วงไม่ปรากฏพัลส์ (space width) หมายถึง ช่วงเวลาที่ค่าของพัลส์เป็น ศูนย์ trp หรือ sw
6. ความถี่การซ้ำของพัลส์ (pulse repetition frequency) หมายถึงจำนวนของพัลส์ที่ ปรากฏในเวลา 1 วินาที PRF หน่วยเป็นพัลส์/วินาที
                    PRF = 1/T
7. คาบเวลาของพัลส์ (time period) หมายถึง ช่วงเวลาตั้งแต่ขอบนำหน้าของพัลส์ลูกหนึ่งถึงของนำหน้าของพัลส์อีกลูกหนึ่ง T
                     PRT = tp + trp = T
8. ค่าเฉลี่ยของพัลส์ หมายถึง อัตราส่วนผลรวมของพื้นที่ของพัลส์ /คาบ เวลาของพัลส์
                     Vav = [(V1 t1) + (V2 t2)] / T
9.ดิวตี่ ไซเคิล (duty cycle) หมายถึงอัตราส่วนระหว่างความกว้างของช่วงที่มีพัลส์ / คาบเวลาของพัลส์
                      duty cycle = ( tp / T) * 100%

รูปคลื่นพัลส์ทาง ปฏิบัติ

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

1. ช่วงเวลาขึ้น (rise time) เป็นช่วงเวลาที่แรงดันเพิ่มจาก 10% - 90% ของค่าแรงดันสูงสุด tr
2. ช่วงเวลาลง (ดฟสส time) เป็นช่วงเวลาที่แรงดันลดจาก 90% - 10% ของค่าแรงดันสูงสุด tf
3. ความกว้างของพัลส์ (pulse width) คือช่วงที่เวลาที่พัลส์มีแรง ดัน 50% ของค่าแรงดันสูงสุด tp
4. แอมปลิจูดเฉลี่ย (average pulse amplitude) = (ค่าแรงดันสูงสุด + ค่า แรงดันต่ำสุด) / 2
5. ความลาดเอียงของพัลส์ (tilt) ค่าแอมปลิจูดของพัลส์ลดลงจากค่า แรงดัน V1 เป็น V2 ทำให้มีลักษณะลาดเอียง =(ค่าแรงดัน สูงสุด - ค่าแรงดันต่ำสุด) / Vav

วงจรกรอง ความถี่ต่ำผ่านแบบ RC (RC low pass filter)

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

Vc = V - (V-V0)e -t/RC
Vc = แรงดันตกตร่อม C ที่ t ใดๆ

วงจร RC อินทิเกรเตอร์(RC integrator)

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

Vo = (1/RC) ƒ Vi dt
Vo = แรงดัน o / p

วงจรกรอง ความถี่สูงผ่านแบบ RC (RC high pass filter)

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

Vo = V e -t/RC
V1 = V0 e -t/RC
V3 = V 2 e-t/RC

วงจร RC ดิฟเฟอรนเชียล (RC differential)

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

Vo = RC (d vi / dt)
Vo = แรงดัน o/ p

วงจรไดโอดสวิตช์

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

จาก คุณสมบัติของสวิทช์เมื่ออยู่ในสภาวะปิด (on) แรงดันตกคร่อมสวิทช์มีค่า เป็น 0 แต่จากคุณสมบัติของวงจรไดโอดแบบ forward ทำให้เกิดแรงดันตกคร่อมไดโอดที่0.7v(silicon) และ 0.3v (germanniam)

จาก คุณสมบัติของสวิทช์เมื่ออยู่ในสภาวะเปิด (off) แรงดันตกคร่อมสวิทช์มีค่าเป็น Vcc แต่จากคุณสมบัติของวงจรไดโอดแบบ revers ทำให้เกิดแรงดันตกคร่อมไดโอดมีกระแสรั่วไหลเล็กน้อย

วงจร ขลิบ

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

วงจรขริบ แบบอนุกรม ใช้หลัการไดโอดสวิทช์พิจจารณาว่า เป็นการไปอัสแบบใดและตรวจสอบ o/p
                               Vo = Vi - Vd
                               Vd = แรงดันตกค่อมไดโอดเมื่อไบอัสตรง

วงจรขริบแบบขนาน ใช้หลัการไดโอดสวิทช์พิจจารณาว่า เป็นการไปอัสแบบใดและตรวจสอบ o/p
                               Vo =Vd     ; เมื่อไบอัสตรง
                               Vd = แรงดันตกค่อมไดโอดเมื่อไบอัสตรง

                               Vo = Vi    ; เมื่อไบอัสกลับ

วงจรแค ลมป์

วงจร ใด ทำ หน้าที่ ขยายสัญญาณ รูป ฟันเลื่อย

วงจรแคลมป์แรงดันบวก ใช้หลัการเก็บและสะสมประจุของคาปาซิสเตอร์ และไดโอดสวิทช์พิจจารณาว่า เป็นการไปอัสแบบใดและตรวจสอบ o/p
                               Vo = Vc - Vi

วงจรแคลมป์แรงดันลบ ใช้หลัการเก็บและสะสมประจุของคาปาซิสเตอร์ และไดโอดสวิทช์พิจจารณาว่า เป็นการไปอัสแบบใดและตรวจสอบ o/p

วงจรสวิทช์ทรานซิสเตอร์ เป็นการนำเอา ทรานซิสเตอร์มาทำหน้าที่เป็นสวิทช์ ปิด-เปิดวงจร เพื่อสร้างสัญญาณรูปคลื่นต่างๆ