การกระทำในข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีช้าลง

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา from Manchai

 ˹��¡�����¹��� �������¹�ŧ��ѧ�ҹ��С���Դ��ԡ��������
           ����ͧ "��ѧ�ҹ�Ѻ����Դ��ԡ��������"

1. �����繡������¹�ŧ�ҧ����Ҿ
����ҡ�д��
��õ����������ʹ
�����ѡ�����
������������

2. �����Դ��ԡ��������
��÷ӹ�����
�����������㹹���Ѵ��
�������¡ô���ä���ԡ�Ѻ���
��÷��ǹ�

3. �����������ԡ��������
�ش�ٻ�����
�����ӵ��ŧ㹡����͹
�������ǧ����ء
����úٴ���ͧ�ҡ�ҡ����͹

4. ��������Դ��ԡ��������
��áԹ��Ŵ�ô㹡����������
�������ٹ���ŧ㹴Թ������
��èش������ا���
���ʡѴ���蹨ҡ�����

5. �������¹�ŧ�����������Դ���
�������жѹ����繢ͧ���Ǡ�����
����о����������ӡз�
�����������âͧ������
�Ѵ�������ٻǧ���

6. ����������������¹�ŧ�ҧ���
�����������͹����������
������������ŧ㹹��
����ô���͡Ѻ⫴��
�Ե��Թ�����µ������Ͷ١������͹

7. �������١��ͧ
�ӹ���������������������Դ��Һ�����Դ��� ����繡������¹�ŧ�ҧ��ՠ���������
��������������ӻ�ԡ����ҡѺ�ô�Դ�ͧ��ʢ�� �繡�����¹�ŧ�ҧ���
����ͧ��Դ����ѹ�����Դ��õ��С͹ �繡������¹�ŧ�ҧ���
�����⫴��㹹���������س������٧��� �繡������¹�ŧ�ҧ���Ẻ��¤�����͹

8. ���㴡���Ƕ֧����Դ��ԡ�����������١��ͧ
��ͧ����������Դ���
��ͧ�ա������¹ʶҹТͧ�������
�շ�駡�ôٴ��ѧ�ҹ��Ф�¾�ѧ�ҹ
������к��Դ����仵�����ç���

9. �����������Ǻ觪������Դ��ԡ��������
��õ��С͹
����Դ�ͧ���
����Դ������͹
�������¹��

������õ��仹��ͺ�Ӷ����� 10-13
      HCl(ag) + NaOH(aq)NaCl(aq) + H2O(l)

10. ��õ�駵鹢ͧ��ԡ����ҹ����������
HCl
NaOH
HCl + NaOH
NaCl + H2O

11. ��Ե�ѳ��ͧ��ԡ����ҹ����������
HCl
NaOH
HCl + NaOH
NaCl + H2O

12. ����ʹ������ù�����١��ͧ�Ţ�������Է����ҧ˹�� HCl ����������
1
2
3
4

13. NaCl �������������ô����Դ�����ʶҹе������
�ͧ��
�ͧ����
���
��������

14. ����͹��ѧ���� (Zn) �ҷӻ�ԡ����ҡѺ�ô���� (NaCl) �����Ե�ѳ���繫ԧ�����ô� (ZnCl2) ����������ਹ (H2) ��¹������������������
Zn(s) + 2HCl(l)    ZnCl2(l) + H2(g)
Zn(s) + 2HCl(l)    ZnCl2(aq) + H2(g)
Zn(s) + 2HCl(aq)ZnCl2(aq) + H2(g)
Zn(s) + 2HCl(aq)ZnCl2(l) + H2(g)

15. ��ҹӹ�ӵ�ŷ������Ҩ���¹���������������
C6H12O6(s) + 6O2(g)   6CO2(g) + 6H2O(g)
C6H12O6(s) + 12O2(g)12CO2(g) + 11H2O(g)
C12H22O11(s) + 6O2(g   )6CO2(g) + 6H2O(g)
C12H22O11(s) + 12O2(g   )12CO2(g) + 11H2O(g)

16. ���㴤�����������ʴ���ԡ�������������ҧ�Թ�ٹ�Ѻ�ô��ſ���ԡ������Դ���������࿵ ��� �����ʤ���͹��͡䫴�
CaCO3(s) + H2SO4(aq)CaSO4(aq) + H2O(l) + CO2(g)
CaCO3(s) + H2SO4(aq)CaSO4(aq) + H2O(l) + CO(g)
CaCl2(s) + H2SO4(aq)CaSO4(aq) + H2O(l) + CO2(g)
CaCl2(s) + H2SO4(aq)CaSO4(aq) + H2O(l) + CO(g)

17. �ҡ����� A + BCO2(g) �ѡ���¹�Դ������ A ��� B ������� ����ӴѺ
����͹�������͡��ਹ
����͹��й��
����͹��Сô
����͹�����

18. ���㴴���������١��ͧ
Al(s) + O2(g)Al2O3(s)
2Al(s) + O2(g)Al2O3(s)
2Al(s) + 3O2(g)Al2O3(s)
4Al(s) + 3O2(g)2Al2O3(s)

19. X + �ô��� + H2O + CO2 �ҡ����� ��� X ���������
��
����
���
�Թ�ٹ

20. ���� + Y��� A + �������ਹ �ҡ�������� Y ���������
�ô
���
�����
����͡��ਹ� ������


Score =
Correct answers:

�Ѵ���� : ����ʡ��ä� ����ó�آ

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ ความเร็วที่ตัวทำปฏิกิริยาเปลี่ยนไปเป็นสารผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยเวลา โดยที่หน่วยความเข้มข้นของสารเป็น mol/dm3 ดังนั้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อวินาที ชั่วโมง หรือวัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือช้านั่นเอง

 

สรุปเนื้อหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถจำแนกตามชนิดของปฏิกิริยา ได้ 2 ประเภท ได้แก่

1. ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (homogeneous reaction) ซึ่งจัดเป็นปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทั้งหมดอยู่ในสถานะเดียวกัน

CH4(g)+ 2O2(g)—->CO2(g) + 2H2O(g)

2. ปฏิกิริยาเนื้อผสม (heterogeneous reaction) จัดเป็นปฏิกิริยาที่สารต่าง ๆ ไม่ได้อยู่ในสถานะเดียวกัน

3HCl(aq) + HNO3(aq)—>Cl2(g) + NOCl(g) + 2H2O(l)

หมายเหตุ : การทราบชนิดของปฏิกิริยาจะทำให้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยานั้นได้ง่ายขึ้น

 

นอกจากนี้ ยังสมารถแบ่งประเภทอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้เป็น 3 แบบ ได้แก่

1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (Average rate) คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนสิ้นสุดการเกิดปฏิกิริยา หรือสิ้นสุดการทดลองในหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งมีได้ค่าเดียว

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous rate) คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ ช่วงใดช่วงหนึ่ง ขณะที่ปฏิกิริยากำลังดำเนินอยู่ในหนึ่งหน่วยเวลาที่ช่วงนั้น ทั้งนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีได้หลายค่า ที่เวลาต่างกันจะมีค่าไม่เท่ากัน นั่นคือ ตอนเริ่มต้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีค่ามาก เมื่อปฏิกิริยาดำเนินต่อไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลงตามลำดับ เพราะความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลงนั่นเอง

3. อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลา คือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่คิดจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในช่วงสั้นๆ ขณะที่ปฏิกิริยากำลังดำเนินอยู่ในหนึ่งหน่วยเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลา หาได้โดยการนำข้อมูลที่ได้จากการทดลองไปเขียนกราฟ (ให้ปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงเป็นแกนตั้ง เวลาเป็นแกนนอน) เมื่อต้องการทราบอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาใด ก็ให้ลากเส้นตั้งฉากตรงจุดเวลานั้นไปตัดเส้นกราฟลากเส้นสัมผัสให้ผ่านจุดตัด แล้วหาค่าความชัน (Slope) ของเส้นสัมผัส ซึ่งอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะนั้นก็ดูจากค่าความชันนั่นเอง

 

ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีหลากหลาย ดังนี้

1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น เพราะ สารต่างชนิดกันจะสามารถเกิดปฏิกิริยาได้เร็วหรือช้านั้น ขึ้นอยู่กับสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด เช่น โลหะโซเดียมทำปฏิกิริยากับน้ำเย็นได้เร็วมาก และเกิดปฏิกิริยารุนแรง ในขณะที่โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับน้ำเย็นได้ช้า แต่เกิดได้เร็วขึ้นเมื่อใช้น้ำร้อน ทั้งนี้ มีสาเหตเนื่องมาจาก โลหะโซเดียมมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาดีกว่าโลหะแมกนีเซียม สารบางชนิดจะทำปฏิกิริยาได้ยาก ยกตัวอย่างเช่น การสึกกร่อนของหิน การเกิดสนิมเหล็ก แต่ในทางกลับกันบางชนิดก็ทำปฏิกิริยาได้ง่าย เช่น การระเบิดของประทัด

2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น เพราะโดยปกติแล้วปฏิกิริยาเคมีโดยทั่ว ๆ ไป อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี มักขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่เข้าทำปฏิกิริยา เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด ถ้าเริ่มต้นใช้กรดที่มีความเข้มข้นสูงจะเกิดการกัดกร่อนโลหะได้เร็วกว่ากรดที่มีความเข้มข้นต่ำ เป็นต้น อัตราการเกิดปฏิกิริยานั้น อาจขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพียงสารใดสารหนึ่งหรือทุกสารก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ห็ยังมีมีปฏิกิริยาเคมีบางชนิดที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารตั้งต้น โดยไม่ว่าจะเปลี่ยนความเข้มข้นของสารตั้งต้นอย่างไร อัตราการเกิดปฏิกิริยาคงที่เสมอ เช่น ปฏิกิริยาการกำจัดแอลกอฮอล์ในเลือดของคน เป็นต้น

3.พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น โดยปัจจัยนี้จะมีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็ต่อเมื่อปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นนั้นเป็นปฏิกิริยาเคมีแบบเนื้อผสมที่มีสารตั้งต้นเป็นของแข็งร่วมอยู่ด้วย เช่น การเกิดปฏิกิริยาระหว่าง Mg และ HCl กล่าวคือ ปฏิกิริยาของโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกจะเกิดแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งถ้าทำให้ลวดแมกนีเซียมเป็นชิ้นเล็ก ๆ จะพบว่าปฏิกิริยานั้นเกิดเร็วกว่าลวดแมกนีเซียมที่เป็นแผ่นหรือขดเป็นสปริง

4.อุณหภูมิ โดยเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็จะเพิ่มขึ้นด้วย เช่น การบ่มผลไม้ในภาชนะที่มีฝาปิด จะสุกเร็วกว่าการไว้ข้างนอก

5. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) คือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดได้เพิ่มขึ้น โดยที่ตัวเร่งปฏิกิริยาอาจจะมีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาหรือไม่ก็ได้ แต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้จะต้องมีปริมาณเท่าเดิมและมีสมบัติเหมือนเดิม

6. ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibiter) คือ สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาช้าลง และเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยาจะกลับคืนมาเหมือนเดิมและมีมวลคงที่ แต่สมบัติทางกายภาพเปลี่ยนแปลงไป เช่น ขนาด รูปร่าง

โดยปกติแล้ว การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่งการดำเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของพลังงานของโมเลกุลเมื่อโมเลกุลของก๊าซมาชนกันจนกระทั่งกลายเป็นผลิตภัณฑ์สามารถจะแสดงให้เห็นได้โดยอาศัยกราฟซึ่งจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา และพลังงานของผลิตภัณฑ์ดังนี้

ก. ปฏิกิริยาระหว่าง NO2 กับ CO ซึ่งเป็นประเภทคายความร้อน
NO2 (g) + CO(g) →NO (g) + CO2 (g) + 234 kJ
เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้

การกระทำในข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีช้าลง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

จากรูปนี้ การเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา NO2 + CO → NO + CO2
E1 คือ พลังงานของสารตั้งต้น
E3 คือ พลังงานผลิตภัณฑ์
Ea คือ พลังงานก่อกัมมันต์ซึ่งเป็นผลต่างระหว่าง E2 กับ E1
E คือ พลังงานของปฏิกิริยาซึ่งเป็นผลต่างระหว่าง E3 กับ E1

 

ข . ปฏิกิริยา 2HI(g) → H2 ( g) + I2 (g) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาประเภทดูดความร้อน

การกระทำในข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีช้าลง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

กฎอัตรา คืออะไร

กฎอัตรา (Rate law) คือ สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับค่าคงที่อัตราและความเข้มข้นของสารตั้งต้น ซึ่งกฎอัตราจะมีประโยชน์มาก ถ้าเรารู้ค่าคงที่อัตราและความเข้มข้นของสารตั้งต้นแล้ว เราก็สามารถคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาจากกฎอัตราได้ ในทางกลับกัน เราสามารถที่จะใช้สมการนี้ในการหาความเข้มข้นของสารตั้งต้น ณ เวลาใดๆ ในขณะที่เกิดปฏิกิริยาได้ด้วย

 

กลไกของปฏิกิริยาเคมี

Elememtary reaction คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนเดียว และอันดับของปฏิกิริยาจะเท่ากับจำนวนโมเลกุลอะตอมของสารตั้งต้นที่เข้าทำปฏิกิริยา ดังนั้น อันดับปฏิกิริยาของ Elememtary reaction จึงเรียกว่า “molecularity” โดย Elementary reaction ที่มี molecularity เป็น 1 เรียกว่า umimolecular reaction, 2 เรียกว่า bimolecular reaction และ 3 เรียกว่า termolecular reaction

หมายเหตุ : Elementary reaction ที่มี molecularity มากกว่า 2 เกิดขึ้นได้ยากมาก ดังนั้น ปฏิกิริยาใดที่มี molecularity ตั้งแต่ 2 ขึ้นไป น่าจะไม่ใช่ elementary reaction

 

ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. CH3OH ทำปฏิกิริยากับ HCl เกิดเป็น CH3Cl และ H2O เมื่อวัดความเข้มข้นของ HCl ในขณะเกิดปฏิกิริยาได้ผลดังแสดงในตารางต่อไปนี้

เวลา ( s)ความเข้มข้นของ HCl ( mol/l)0

80

159

314

628

1.85

1.66

1.53

1.31

1.02

อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 159 – 314 เป็นเท่าใด

ก. 0.0014 mol/l/s
ข. 0.0023 mol/l/s
ค. 0.0092 mol/l/s
ง. 0.0178 mol/l/s

 

2. จากโจทย์ข้อ 1 อัตราการเกิดปฏิกิริยา เฉลี่ยเป็นเท่าใด

ก. 0.0014 mol/l/s
ข. 0.0016 mol/l/s
ค. 0.0013 mol/l/s
ง. 0.0092 mol/l/s

 

3. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง

ก. คะตะไลต์เมื่อใส่ลงไปในปฏิกิริยาทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเร็วขึ้น
ข. เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
ค. เมื่อเกิดปฏิกิริยาคะตะไลต์อาจมีส่วนร่วมในการทำปฏิกิริยา
ง. เมื่อพลังงานกระตุ้นสูงจะทำให้เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

 

4. ข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน

ก. เพิ่มอุณหภูมิ ลดความดัน
ข. เพิ่มพื้นที่ผิว ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา
ค. เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ
ง. เพิ่มพื้นที่ผิว เพิ่มขนาดภาชนะที่บรรจุ

 

5. ปฏิกิริยา A(s) + B(aq) ———–> C(aq) + D(aq) เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การกระทำทั้งหมดในข้อใดทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

ก. ลดขนาดของ A เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพิ่มอุณหภูมิ
ข. เพิ่มขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
ค. ลดขนาดของ A ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ
ง. ลดขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ

 

เคมี ม. ปลาย ต้องเรียนเรื่องอะไรบ้าง

การเรียน เคมี ม.ปลาย ตั้งแต่เคมี ม.4 เคมี ม.5 หรือ เคมี ม.6 นอกจากเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่จะต้องเจอแล้ว การเรียนวิชานี้ยังครอบคลุมไปถึงเรื่องอื่น ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ, พันธะเคมี, สมบัติของธาตุและสารประกอบ, โมลและสูตรเคมี, สารละลาย, ปริมาณสารสัมพันธ์, ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ, แก๊สและสมบัติของแก๊ส, สมดุลเคมี, กรด-เบส, ไฟฟ้าเคมี, เคมีอินทรีย์, พอลิเมอร์, เชื้อเพลิงและซากดึกดำบรรพ์, เคมีกับการแก้ปัญหา, สารชีวโมเลกุล และอื่น ๆ ดังนั้น ใครที่กำลังเตรียมตัวจะเลือกเรียนสายวิทย์ หรือกำลังเรียนสายวิทย์อยู่ ก็จะต้องเจอกับการเรียนเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้อย่างแน่นอน

 

การกระทำในข้อใดมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีช้าลง

คอร์สเรียน เคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวต่อตัว

เป็นคอร์สเรียนที่ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียนให้เหมาะกับตัวเองได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเรียนเพื่อติวสอบปลายภาค, ติวเพิ่มเกรด, กวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัย ก็สามารถเลือกได้ตามแบบที่เราต้องการได้ด้วยหลักสูตรจำนวน 10 ชม. แต่หากใครที่พื้นฐานอ่อนหรืออยากมาเรียนเนื้อหาล่วงหน้าก็สามารถเพิ่มชั่วโมงเรียนให้เหมาะสมกับเราได้