รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน

รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน

"คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์"

สร้างผู้นำองค์กรที่มีนวัตกรรมการพัฒนา

 

หลักสูตรนี้เรียนอะไรบ้าง

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต  กำหนดวัตถุประสงค์หลัก คือ การพัฒนาความรู้ทางวิชาการและทักษะทางวิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการวิเคราะห์สถานการณ์หรือสภาพปัญหา รวมทั้งการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ เรียนเกี่ยวกับ 1. แนวคิดหลักรัฐประศาสนศาสตร์ ระบบการบริหารราชการไทย 2. วิชาหลักทางด้านการบริหารจัดการภาครัฐ ได้แก่ นโยบายสาธารณะ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารการเงินและการคลัง การบริหารท้องถิ่น องค์การและการบริหารแนวใหม่   3. การฝึกงานและการทำโครงงานทางรัฐประศาสนศาสตร์  4. การเรียนรู้เกี่ยวกับภาครัฐดิจิทัลและการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้แก่ การบริหารภาครัฐดิจิทัล และการบริหารการพัฒนาอย่างยั่งยืน

รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน

ทุนรัฐประศาสนศาสตร์

คณะรัฐประศาสนศาสตร์ (รปศ.) มอบทุนการศึกษาให้ผู้สนใจเรียนมากมาย ได้แก่ ทุนเรียนดี ทุนเสริมโอกาส ทุนนักกีฬา นอกจากทุนการศึกษา ผู้สมัครสามารถรับสิทธิพิเศษต่างๆ ได้ในวันที่สมัคร (การขอรับทุนการศึกษามีจำกัดระยะเวลาการรับสมัคร)

BACHELOR OF PUBLIC ADMINISTRATION

แนวทางประกอบอาชีพ

1. ข้าราชการทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น  2. ข้าราชการฝ่ายปกครอง ทหาร และตำรวจ   3.นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  4. นักวิเคราะห์นโยบายและแผน  5. เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและบริษัทเอกชน หรือประกอบธุรกิจของตนเอง

ทำไมถึงต้องเลือกเรียนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ DPU

1.หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์อยู่ในคณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มีสถานะเป็นคณะวิชา  2.เปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ภาคปกติ (เรียน วันจันทร์-วันศุกร์) และภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) เรียนจบได้ภายใน 3 ปี (สามารถสอบเทียบโอนได้) และมีหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท) เปิดสอนในวันเสาร์-อาทิตย์  3.มีทุนการศึกษาให้ผู้สนใจเรียนจำนวนหลากหลาย เช่น ทุนเรียนดี ทุนเสริมโอกาส ฯลฯ  4.คณะรัฐประศาสนศาสตร์มีการบริการวิชาการในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนชั้นนำจำนวนมากที่นักศึกษามีโอกาสเข้าร่วม เพื่อเพิ่มประสบการณ์พร้อมๆ กับคณาจารย์ระหว่างที่เรียน  5. คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์จะได้เรียนรู้จริงในองค์การต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการสร้างบัณฑิตแห่งอนาคต (มีทักษะในการทำงานยุคดิจิทัล ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการมีจิตอาสา สะสมชิ้นงานที่มีคุณภาพซึ่งจะสามารถใช้ยื่นในการสมัครงานเมื่อเรียนจบ)  6.คณะรัฐประศาสนศาสตร์มีทีมนักกีฬาฟุตบอล เช่น ทีมสุภาพบุรุษรปศ.

รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน


ข้อมูลทั่วไป

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Administration

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย) : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (สาขารัฐประศาสนศาสตร์)
ชื่อย่อ (ไทย) : รป.บ.
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Public Administration
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.P.A.

รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน


รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน

ค่านิยมหลัก : เสียสละและมีจิตอาสาเพื่อส่วนรวม

ปรัชญา

รัฐประศาสนศาสตร์ นำความรู้คู่คุณธรรมสู่ภารกิจแห่งรัฐ

ปณิธาน

สร้างบุคลากรของรัฐที่พร้อมด้วยความรู้ความสามารถและคุณธรรม

วิสัยทัศน์

“สร้างความเป็นเลิศขององค์การภาครัฐ ภาคเอกชน และท้องถิ่น เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมสมัย”


พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม

ที่เป็นหลักคือ มีจิตสำนึกต่อส่วนร่วม

รัฐประศาสนศาสตร์ ม ข เรียน ที่ไหน

เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรม

การปฏิบัติงานด้วยความเสียสละ สำนึกในจิตสาธารณะส่วนรวมของคณาจารย์และบุคลากรของคณะ ถือได้ว่าเป็นอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และวัฒนธรรมองค์กรที่สำคัญที่สุดและเด่นชัดที่สุดของคณะ นำมาซึ่งจุดแข็งของคณะ นอกจากนี้ยังมีการถ่ายทอดสู่นักศึกษาของคณะให้เป็นนักศึกษาและบัณฑิตผู้มีความเสียสละ มีจิตสำนึกสาธารณะ เพิ่มเติมจากความรอบรู้ทางวิชาการและประสบการณ์ในการปฏิบัติด้วย

ภาพกิจกรรม

สำนักข่าว: เด็กดี
URL: https://www.dek-d.com/tcas/55886/
วันที่เผยแพร่: 31 ก.ค. 2563

อีกหนึ่งมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรเปิดสอนเยอะมากๆ ก็คงหนีไม่พ้น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยดังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากที่ตั้งที่ จ.ขอนแก่น แล้ว ก็ยังมีวิทยาเขตหนองคาย ที่เปิดรับคณะ/สาขา น่าสนใจไม่แพ้กัน จะมีคณะอะไรบ้าง มีที่เราอยากเรียนหรือเปล่า ไปดูกันค่ะ

ข้อมูลอ้างอิงจาก https://admissions.kku.ac.th/, https://registrar.kku.ac.th/home/kkuprogramdata/ และเว็บไซต์คณะต่างๆ

1. คณะวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 14 สาขาวิชาคือ
– สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
– สาขาวิชาชีววิทยา
– สาขาวิชาเคมี
– สาขาวิชาคณิตศาสตร์
– สาขาวิชาฟิสิกส์
– สาขาวิชาสถิติ
– สาขาวิชาจุลชีววิทยา
– สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
– สาขาวิชาชีวเคมี
– สาขาวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์
– สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
– สาขาวิชาสารสนเทศสถิติ
– สาขาวิชาวัสดุศาสตร์และนาโนเทคโนโลยี
แนวทางประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์, นักวิจัย, อาจารย์, ประกอบธุรกิจส่วนตัว, อาชีพอื่นๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น โปรแกรมเมอร์, นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2.คณะทันตแพทยศาสตร์ (ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (ท.บ.))
แนวทางประกอบอาชีพ : ทันตแพทย์, ทันตแพทย์เฉพาะทาง, อาจารย์, ธุรกิจเกี่ยวกับอุปกรณ์ดูแลฟัน

3. คณะนิติศาสตร์ (นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.))
แนวทางการประกอบอาชีพ : นิติกร, ทนายความ, อัยการ, ผู้พิพากษา, ที่ปรึกษากฎหมาย, งานด้านวิชาการ

4. คณะพยาบาลศาสตร์ (พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.))
แนวทางการประกอบอาชีพ : พยาบาลวิชาชีพ, พยาบาลในคลินิก, พยาบาลพิเศษดูแลผูู้ป่วยตามบ้าน, นักวิชาการสาธารณสุข, พนักงานหรือทำธุรกิจด้านอุปกรณ์การแพทย์

5. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มี 3 หลักสูตร คือ
5.1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต มี 6 สาขาวิชาคือ
– สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
– สาขาวิชาภาษาตะวันออก มี 2 วิชาเอก คือ วิชาเอกภาษาจีน และ วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
– สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มี 2 วิชาเอก คือ วิชาเอกสังคมวิทยาและมานุษยา และ วิชาเอกพัฒนาสังคม
– สาขาวิชาภาษาไทย
– สาขาวิชาภาษาตะวันตก มี 3 วิชาเอก คือ วิชาเอกภาษาสเปน วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส และวิชาเอกภาษาเยอรมัน
– สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
5.2 หลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑิต
5.3 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
แนวทางประกอบอาชีพ : ล่าม, นักแปล, แอร์โฮสเตส, คอลัมนิสต์, อาจารย์, ผู้ประกาศข่าว, นักเขียน, นักประชาสัมพันธ์, ไกด์ หรือ อาชีพอื่นๆ ที่ใช้ทักษะด้านภาษา

6. คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มี 2 หลักสูตร คือ
6.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
– วิชาเอกการเงิน
– วิชาเอกการตลาด
– วิชาเอกการจัดการ การประกอบการพาณิชย์และนวัตกรรม
– วิชาเอกการจัดการธุรกิจบริการและการจัดงาน
– สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
แนวทางการประกอบอาชีพ : นักการตลาด, พนักงานธนาคาร, ที่ปรึกษาด้านการเงินการลงทุน, งานด้านธุรกิจอีเว้นท์, ธุรกิจด้านบริการ การนำเที่ยว
6.2 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
แนวทางประกอบอาชีพ : นักบัญชี, ผู้ตรวจสอบบัญชี, ผู้เชียวชาญด้านภาษี, พนักงานธนาคาร

7. คณะวิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)) มี 14 สาขาวิชา คือ
– สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
– สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
– สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร
– สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มี 2 แขนง คือ แขนงวิศวกรรมอุตสาหการ และ แขนงวิศวกรรมวัสดุและการผลิต
– สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
– สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
– สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
– สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
– สาขาวิชาวิศวกรรมระบบอิเล็กทรอนิกส์
– สาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม (หลักสูตรนานาชาติ)
– สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ)
– สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี (หลักสูตรนานาชาติ)
– สาขาวิชาวิศวกรรมสื่อดิจิทัล (หลักสูตรนานาชาติ)
– สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา โครงการพิเศษ
แนวทางประกอบอาชีพ : วิศวกรในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ตามสาขาที่เรียนมา เช่น ยานยนต์, อิเล็กทรอนิกส์, ไฟฟ้า, เคมี, บริษัทด้านก่อสร้าง, วิศวกรปิโตรลียม, โปรแกรมเมอร์, ประกอบธุรกิจส่วนตัว

8. คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศป.บ.)) มี 4 สาขาคือ
– สาขาวิชาทัศนศิลป์
– สาขาวิชาดุริยางคศิลป์
– สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์
– สาขาวิชาศิลปะการแสดง
แนวทางประกอบอาชีพ : นักดนตรีอาชีพ, ธุรกิจดนตรี, นักแสดง, อาจารย์, นักออกแบบ, กราฟฟิกดีไซเนอร์, นักออกแบบเว็บไซต์, สไตล์ลิสต์

9. คณะศึกษาศาสตร์ (ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.)) มี  สาขาวิชา คือ
– สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
– สาขาวิชาภาษาจีน
– สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
– สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
– สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
– สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา
– สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา
– สาขาวิชาสังคมศึกษา
– สาขาวิชาศิลปศึกษา
– สาขาวิชาพลศึกษา
แนวทางการประกอบอาชีพ : คุณครูตามสาขาที่เรียน, ติวเตอร์สถาบันกวดวิชา, พนักงานบริษัท, อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา, อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่เรียนมา

10. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.)) มี 2 สาขาวิชาคือ
– สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ (5 ปี)
– สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม (4 ปี)
แนวทางประกอบอาชีพ : สถาปนิก, ออกแบบอาคาร, นักออกแบบ, นักออกแบบผลิตภัณฑ์, กราฟิกดีไซเนอร์, ธุรกิจส่วนตัว

11. คณะสัตวแพทยศาสตร์ (สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.))
แนวทางประกอบอาชีพ : สัตวแพทย์, อาจารย์, งานราชการในหน่วยงาน กรมปศุสัตว์ เป็นต้น, งานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสัตวเลี้ยง เช่น อาหาร ยา, ประกอบธุรกิจส่วนตัว

12. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มี 2 หลักสูตร คือ
12.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) มี 3 วิชาเอกคือ
– วิชาเอกวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม
– วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
– สาขาวิชาเอกคู่ อนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
12.2 หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรต่อเนื่อง)
แนวทางประกอบอาชีพ : นักวิชาการสิ่งแวดล้อม, นักสุขาภิบาล, นักสาธารณสุข, ผู้ควบคุมระบบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

13. คณะเกษตรศาสตร์ มี 2 หลักสูตร คือ
13.1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต มี 2 สาขาวิชา คือ
– สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
– สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ มี 7 สาขาวิชาเอก ได้แก่ กีฏวิทยา โรคพืชวิทยา ปฐพีศาสตร์และสิ่งแวดล้อม พืชสวน พืชไร่ การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร และ สัตวศาสตร์
– สาขาวิชาการประมง
13.2 หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรนวัตกรรม
แนวทางการประกอบอาชีพ : นักวิจัย, นักวิชาการเกษตร, นักวิทยาศาสตร์ด้านการเกษตร, เจ้าของกิจการฟาร์ม, เกษตรกร, งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร

14. คณะเทคนิคการแพทย์ (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 2 สาขา คือ
– สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์
แนวทางการประกอบวิชาชีพ : นักเทคนิคการแพทย์, เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ, นักวิจัย, ผู้ช่วยนักวิจัย, ผู้แทนฝ่ายขายเครื่องมือตรวจวิเคราะห์
– สาขาวิชากายภาพบำบัด
แนวทางการประกอบวิชาชีพ : นักกายภาพบำบัด, อาจารย์, เปิดคลินิกกายภาพบำบัด, ตัวแทนขายอุปกรณ์ด้านกายภาพบำบัด

15. คณะเทคโนโลยี (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 4 สาขา คือ
– สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
– สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี
– สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร
– สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต
แนวทางการประกอบวิชาชีพ : นักวิทยาศาสตร์, นักวิจัย, เจ้าหน้าที่ในโรงงานอุตสาหกรรมตามสาขาที่เรียนมา, ประกอบธุรกิจส่วนตัว

16. คณะเภสัชศาสตร์ (เภสัชศาสตรบัณฑิต ภ.บ.)) มี 2 หลักสูตร คือ
– หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต
– หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ)
แนวทางประกอบอาชีพ : เภสัชกร, นักพัฒนายา, นักควบคุมคุณภาพยา, เปิดร้านขายยา, ประกอบธุรกิจส่วนตัว, ผู้แทนยา

17. คณะแพทยศาสตร์ มี 2 หลักสูตรคือ
17.1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.)
แนวทางประกอบอาชีพ : แพทย์, แพทย์เฉพาะทาง, อาจารย์
17.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชนิทัศน์
แนวทางประกอบอาชีพ : นักผลิตสื่อด้านการแพทย์, นักผลิตสื่อด้านการศึกษา, ผู้ผลิตสื่อโฆษณา

18. วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มี 2 หลักสูตร คือ
18.1 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) มี 2 สาขา คือ
– สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น
– สาขาวิชาการจัดการการคลัง
แนวทางประกอบอาชีพ : รับราชการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, อาจารย์, เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล, นักการเมือง, เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย
18.2 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาวิชาการจัดการงานช่างและผังเมือง
แนวทางประกอบอาชีพ : นักวิชาการด้านการช่างและผังเมือง, นักบริหารงานแผนเมือง, ช่างสำรวจ, ผู้รับเหมา

19. คณะเศรษฐศาสตร์ (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) มี 2 หลักสูตรคือ
19.1 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
19.2 หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ

แนวทางประกอบอาชีพ : เจ้าของธุรกิจ, นักเศรษฐศาสตร์, พนักงานธนาคาร, นักวางแผนทางด้านการเงิน, นักวางแผนกลยุทธ์, เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ด้านการลงทุน

20. วิทยาลัยนานาชาติ มี 2 หลักสูตร คือ
20.1 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) มี 3 วิชาเอกคือ
– วิชาเอกธุรกิจสากล
– วิชาเอกการตลาดระหว่างประเทศ
– วิชาเอกการเป็นผู้ประกอบการระหว่างประเทศ
แนวทางประกอบอาชีพ : ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก, นักโฆษณา, นักวิเคราะห์การตลาด, นักวางแผนกลยุทธ์, ที่ปรึกษาด้านการประกอบการต่างประเทศ, ธุรกิจส่วนตัว
20.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) มี 3 สาขา คือ
– สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว
แนวทางประกอบอาชีพ : ไกด์นำเที่ยว, พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน, ผู้จัดทัวร์, เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว, เจ้าหน้าที่โรงแรม
– สาขาวิชาการระหว่างประเทศ
แนวทางประกอบอาชีพ : ทำงานราชการในหน่วยงานหรือองค์กรระหว่างประเทศ, อาจารย์, ธุรกิจส่วนตัว
– สาขาวิชานิเทศศาสตร์
แนวทางประกอบอาชีพ : สื่อสารมวลชน, นักการตลาด, ผู้ผลิตสื่อโฆษณา, ผู้กำกับด้านสื่อ, ครีเอทีฟ

วิทยาเขตหนองคาย
1. คณะบริหารธุรกิจ (บริหารธุรกิจบัณฑิต) มี 4 สาขา คือ
– สาขาวิชาการบัญชี
แนวทางประกอบอาชีพ : นักบัญชี, ผู้ตรวจสอบบัญชี, ผู้เชียวชาญด้านภาษี, พนักงานธนาคาร
– สาขาวิชาการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ
– สาขาวิชาการเงิน
– สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ
แนวทางประกอบอาชีพ : นักวางแผนการเงิน, พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน, เจ้าหน้าที่ด้านธุรกิจระหว่างประเทศ, ธุรกิจส่วนตัว, เจ้าหน้าที่ด้านการท่องเที่ยว, นักวางแผนธุรกิจ

2. คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์  (วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)) มี 5 สาขา คือ
– สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
แนวทางประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม, อาจารย์, นักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม, นักวิชาการ
– สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมอาหาร
แนวทางประกอบอาชีพ : นักโภชนาการ, พนักงานในอุตสาหกรรมด้านอาหาร, นักวิจัยอาหาร, ฝ่ายควบคุมคุณภาพ, นักวิจัย, ธุรกิจด้านการแปรรูป
– สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย
แนวทางประกอบอาชีพ : นักวิทยาศาสตร์การกีฬา, โค้ช, เทรนเนอร์ฟิตเนส, นักกีฬาอาชีพ, อาจารย์พลศึกษา
– สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การประมง
แนวทางประกอบอาชีพ : งานด้านประมง, นักเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ, นักวิจัย, นักวิชาการ, ธุรกิจด้านสัตว์น้ำหรืออาหารสัตว์น้ำ
– สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
แนวทางประกอบอาชีพ :  โปรแกรมเมอร์, เว็บดีไซน์เนอร์, กราฟิกดีไซน์เนอร์, นักออกแบบระบบสารสนเทศ, นักพัฒนาซอฟท์แวร์

3. คณะสังคมศาสตร์บูรณาการ มี 3 หลักสูตร คือ
3.1 หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) สาขาวิชานิติศาสตร์
แนวทางประกอบอาชีพ : นิติกร, ทนายความ, อัยการ, ผู้พิพากษา, ที่ปรึกษากฎหมาย, งานด้านวิชาการ
3.2 หลักสูตรรัฐประศาสตร์ (รป.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
แนวทางประกอบอาชีพ : เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์, นักวิเคราะห์นโยบายและแผนงาน, เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป, นักบริการด้านงบประมาณ, นักวิชาการ
3.3 หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ (ศ.บ.) สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
แนวทางประกอบอาชีพ : เจ้าของธุรกิจ, นักเศรษฐศาสตร์, พนักงานธนาคาร, นักวางแผนทางด้านการเงิน, นักวางแผนกลยุทธ์, เจ้าหน้าที่วิเคราะห์ด้านการลงทุน

4. คณะศิลปศาสตร์ มี 2 หลักสูตร คือ
4.1 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการจัดการธุรกิจ
แนวทางประกอบอาชีพ : เจ้าหน้าที่ด้านการต่างประเทศ, ธุรกิจนำเข้า-ส่งออก,
4.2 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ
แนวทางประกอบอาชีพ : อาจารย์, ติวเตอร์สอนพิเศษ, โรงเรียนสอนภาษา, ธุรกิจส่วนตัวอื่นๆ ที่เน้นใช้ภาษาอังกฤษ

สนใจอยากเรียนคณะไหน อย่าลืมหาข้อมูลเพิ่มเติม รวมถึงแผนการรับของคณะนั้นๆ ด้วยนะคะ ว่าจะเปิดรับในรอบใดบ้าง คาดว่าในช่วงสิงหาคม – ตุลาคม ก็น่าจะได้ข้อมูลเรื่องการรับใน TCAS 64 มากขึ้นแล้วค่ะ ใครที่รอของมหาวิทยาลัยอื่นๆ อยู่ ก็ติดตามกันเรื่อยๆ นะคะ^^