ระบอบการปกครองในสมัยอยุธยาเป็นแบบใด

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

ระบอบการปกครองในสมัยอยุธยาเป็นแบบใด

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

  1. 1. การเมืองการปกครองสมัย กรุงศรีอยุธยา
  2. 2. ระบอบการปกครองในสมัยกรุงศรี อยุธยา • มีการปกครองในระบอบราชาธิปไตย หรือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ • กษัตริย์เป็นสมมติเทพ (เทวดาโดยสมมติ) • รับแนวคิดนี้มาจากอินเดียผ่านทางเขมร • พระมหากษัตริย์ปกครองแผ่นดินด้วยหลัก ทศพิธราชธรรม ราชจรรยานุวัตร ๔ และจักรวรรดิ วัตร ๑๒ • กรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ปกครองในระบอบ ราชาธิปไตยอยู่ ๓๓ พระองค์๕ ราชวงศ์
  3. 3. • แบ่งได้เป็ น ๒ ลักษณะ คือ การจัดระเบียบการ ปกครองส่วนกลาง และการจัดระเบียบปกครอง หัวเมือง • แบ่งออกเป็ น ๓ ช่วง ได้แก่ - การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่๑ (พระเจ้าอู่ทอง) - การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระ - การปรับปรุงเพิ่มเติมระเบียบการปกครอง การจัดระเบียบการปกครองในสมัยกรุง ศรีอยุธยา
  4. 4. การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ ๑ การปกครองส่วนกลาง ลักษณะการปกครองในเขต ราชธานี ได้รับอิทธิพลมาจากเขมรโบราณ แบ่ง ออกเป็ น ๔ ฝ่ าย เรียกว่า “จตุสดมภ์” แปลว่า “หลักทั้ง สี่” ได้แก่ • ขุนเวียง(กรมเมือง) มีหน้าที่ ปกครองท้องที่ รักษา ความสงบสุขของราษฎร ปราบปรามโจรผู้ร้าย • ขุนวัง(กรมวัง) มีหน้าที่ เกี่ยวกับราชสานักและ พิจารณาพิพากษาคดีความ • ขุนคลัง(กรมคลัง) มีหน้าที่ ควบคุมดูแลรักษา ผลประโยชน์ของแผ่นดิน • ขุนนา(กรมนา) มีหน้าที่ ดูแลการทาไร่นาและ รักษาเสบียงอาหารสาหรับพระนคร
  5. 5. การปกครองหัวเมือง กาหนดขอบเขตในการบังคับบัญชา โดยแบ่งตามประเภท ของเมือง ดังนี้ • เมืองราชธานี กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการปกครอง มีพระมหากษัตริย์ ปกครอง มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข • เมืองหน้าด่าน เป็นเมืองสาหรับป้องกันราชธานีทั้งสี่ทิศซึ่งพระมหากษัตริย์ ทิศซึ่งพระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งเจ้านายชั้นสูงไปปกครอง ปกครอง • หัวเมืองชั้นใน คือเมืองที่อยู่ถัดจากเมืองป้อมปราการ ซึ่งพระมหากษัตริย์ ซึ่งพระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งข้าราชการไปปกครองเมื่อเกิดสงครามเมือง เมื่อเกิดสงครามเมืองเหล่านี้ต้องรวมกาลังไพร่ มาสมทบกับเมืองราชธานี สมทบกับเมืองราชธานี การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (ต่อ)
  6. 6. • เมืองพระยามหานครหรือหัวเมืองชั้นนอก เป็ น เมืองที่อยู่ห่างออกไปจากราชธานี เมือง ประเภทนี้มีเมืองบริวารในสังกัด อาจมีเจ้าเมือง ปกครองกันเองหรือส่งข้าราชการจากราช ธานีไปปกครอง • เมืองประเทศราช คือเมืองที่อยู่ชายขอบพระ ราชอาณาเขตเจ้านายพื้นเมืองปกครองมี สิทธิ์ขาดในเมืองของตน หน้าที่ต่อเมืองหลวง มีเพียงแต่ส่งเครื่องบรรณาการมาถวายตาม กาหนดและส่งกองทับมาช่วยยามเกิดศึก การจัดระเบียบการปกครองในสมัยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๑ (ต่อ)
  7. 7. กรุงศรี อยุธยา สุพรรณบุ รี ลพบุรี นครนายก พระ ประแดง ราชบุรี เพชรบุรี ปราจีนบุ รี ฉะเชิงเท รา ชลบุรี พรหมบุรี อินทรบุรี สิงห์ แพร ก ศรีราชา นครราชสี มา จันทบุรี ไชยา นครศรีธรรมร าช พัทลุง สงขลา ถลาง ทวาย ตะนาว ศรี เชียง กราน
  8. 8. การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระ บรมไตรโลกนาถ การปกครองส่วนกลาง มีการรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางได้แก่ ราชธานี และแยก การทหารและพลเมืองออกจากกัน มีอัครเสนาเสนาบดีควบคุม • สมุหกลาโหม เป็ นหัวหน้าราชการฝ่ ายทหารทั่ว อาณาจักร มีหน้าที่ การรบในยามสงคราม ฝ่ าย ทหารแยกออกเป็ น ๒ ส่วน คือ ฝ่ ายทาการรบ และ ฝ่ ายจัดการรบ • สมุหนายก เป็ นหัวหน้าฝ่ ายพลเรือนทั่ว ราชอาณาจักร และควบคุมจตุสดมภ์ หน้าที่ฝ่ ายทหารและพลเรือนจะแยกออกจากกันใน ขณะที่บ้านเมืองสงบ แต่ถ้าเกิดศึกสงคราม ข้าราชการ
  9. 9. การจัดระเบียบการปกครองหัวเมือง มีการดาเนินการดังนี้ • หัวเมืองชั้นใน -ยกเลิกเมืองหน้าด่าน -ลดฐานะเป็ นเมืองจัตวา -อยู่ในการควบคุมของราชธานีอย่างใกล้ชิด -พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จากราชธานี ไปปกครองเรียกว่า “ผู้รั้ง” การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระ บรมไตรโลกนาถ (ต่อ)
  10. 10. • หัวเมืองชั้นนอก หรือเมืองพระยามหานคร -กาหนดลาดับเป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี ตามขนาดและความสาคัญ -พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นสูงเป็นเจ้าเมือง -หัวเมืองเอกที่มีความสาคัญคือ นครศรีธรรมราช ทางใต้ และ พิษณุโลก ทาง เหนือ • เมืองประเทศราช -ให้เจ้านายชนชาตินั้นเป็นผู้ปกครองเมือง แต่ต้องได้รับการแต่งตั้งจากราช ธานี -มีหน้าที่ส่งต้นไม้เงิน ต้นไม้ทองกับเครื่องราชบรรณาการเข้ามาถวายมีกาหนด ๓ ปีต่อครั้ง -และเมื่อเกิดศึกสงครามต้องส่งกองทัพมาช่วย การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (ต่อ)
  11. 11. การปรับปรุงเพิ่มเติมระเบียบการ บริหาร การปกครองที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวาง ระเบียบไว้นี้ ได้ใช ้หลักในการปกครองมาตลอดสมัย อยุธยา หากมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ้างในบางสมัย เช่น สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ • มีการปรับปรุงฝ่ ายทหาร คือการทาสารบัญชี • จัดระเบียบวิธีเกณฑ์พลเมืองเข้ารับราชการ ทั้งฝ่ ายทหารและฝ่ ายพลเรือน • มีการตั้งกรมสุรัสวดี (กรมสัสดี)
  12. 12. สมัยสมเด็จพระเพทราชา • แบ่งการปกครองหัวเมืองออกเป็น ๒ ภาค คือ ให้สมุหกลาโหมบังคับ บัญชาเขตหัวเมืองฝ่ายใต้ และให้สมุหนายกบังคับบัญชาเขตหัวเมือง เหนือ สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ • โอนหัวเมืองฝ่ายใต้มาขึ้นกับกรมท่า • เป็นการลดอานาจของสมุหกลาโหมที่อาจก่ออันตรายต่อราบัลลังก์ • สมุหนายกยังคงอานาจเหมือนเดิม การปรับปรุงเพิ่มเติมระเบียบการบริหาร
  13. 13. บรรณานุกรม วงเดือน นาราสัจจ์ และชมพูนุช นาคีรักษ์. หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ,

การปกครองของกษัตริย์สมัยอยุธยาเป็นแบบใด

ระบอบการปกครองในสมัยอยุธยาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อำนาจอธิปไตยอยู่ที่พระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียว เหมือนกับสมัยสุโขทัย แต่แนวความคิดเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ซึ่งพวกขอมนำมา โดยถือว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ที่ได้รับอำนาจจากสวรรค์ตามแนวความคิดแบบลัทธิเทวสิทธิ์

การปกครองในสมัยอยุธยาตอนต้นมีรูปแบบการปกครองแบบใด

การปกครองในสมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ.1893-1991) การปกครองส่วนกลาง พระมหากษัตริย์ ปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือจตุสดมภ์

รูปแบบการปกครองในสมัยกรุงศรีอยุธยามีกี่แบบ

ลักษณะการปกครอง แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1. แบบธรรมราชา กษัตริย์ปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา 2. แบบเทวราชา กษัตริย์เป็นสมมติเทพ รับอิทธิพลมาจากขอม

รูปแบบการปกครองในสมัยอยุธยาได้รับอิทธิพลจากศาสนาใด *

เนื่องจากอยุธยาได้รับอิทธิพลจากเขมรในด้านต่างๆ เช่น ศิลปวิทยา ระบอบการปกครอง และความเชื่อในเทพเจ้าและพิธีกรรมต่างๆ ของศาสนาพราหมณ์ ทำให้ฐานะของพระมหากษัตริย์ไทยเปลี่ยนแปลงจากพ่อขุนหรือปิตุราช ไปในทางเป็นสมมุติเทพหรือเทวราชตามคตินิยมของพราหมณ์ เมื่อฐานะของพระมหากษัตริย์ได้รับการเทิดทูนเทียบเท่าเทพเจ้า ฐานะของพระราชองค์ ...