ในชีวิตประจำวันของนักเรียนจะต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมายประเภทใดบ้าง

ในชีวิตประจำวันของนักเรียนจะต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมายประเภทใดบ้าง

กฎหมายเป็นกลไกสำคัญมากอย่างหนึ่งในการควบคุมสังคมให้เป็นไปด้วยความสงบเรียบร้อย ทุกคนจะได้อยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข กฎหมายถูกออกแบบมาให้ครอบคลุมทุกอย่างในชีวิตประจำวันเลยทีเดียว เพื่อให้กฎหมายถูกบังคับใช้อย่างถูกต้อง จึงมีวลีกล่าวว่า ประชาชนจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้ เพื่อให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องพื้นฐานกฎหมายที่ประชาชนทั่วไปต้องรู้มีเรื่องอะไรบ้าง

กฎหมายเกี่ยวกับทะเบียนราษฏร์

การเกิด แก่ เจ็บตาย นอกจากจะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นกับประชาชนทุกคนแล้ว ยังเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายแบบที่เราต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดด้วย เริ่มจากการเกิด เมื่อมีคนเกิดขึ้นในบ้าน เจ้าบ้านจะต้องไปแจ้งเกิดกับทางอำเภอภายใน 15 วันที่เกิด การแจ้งเกิดมีความสำคัญมากต่อเด็กเอง เพื่อให้เด็กได้รับเลขประจำตัวประชาชนเอาไว้อ้างอิง เมื่อก่อนอาจจะต้องไปแจ้งที่อำเภอ แต่หากเป็นโรงพยาบาลใหญ่ในกรุงเทพทางโรงพยาบาลจะมีมุมให้เราแจ้งเกิดได้เลย สองกรณีมีคนตายต้องแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากยืนยันได้ว่าเสียชีวิตแล้ว อาจจะต้องมีการแนบใบรับรองแพทย์ด้วย สามการย้ายบ้านเราสามารถย้ายบ้านปลายทางได้เองเลย หรือ เจ้าบ้านต้องแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ภายใน 15 วันว่ามีคนในบ้านย้ายออก

กฎหมายบัตรประชาชน

บัตรประชาชนเป็นเอกสารราชการที่สำคัญมาก เราทุกคนต้องทำ และเข้าใจถึงความสำคัญของมัน การทำบัตรประชาชนจะเริ่มต้นตั้งแต่อายุ 7 ปี ที่สำนักงานอำเภอใกล้บ้าน หากบัตรประชาชนสูญหาย หรือ ชำรุด ต้องไปแจ้งขอทำใหม่ภายใน 30 วัน (หากเป็นบัตรชำรุด เอาบัตรที่ชำรุดไปด้วย กรณีบัตรหายต้องไปแจ้งตำรวจเอาไว้ด้วย เพื่อเป็นหลักฐานป้องกันตัวเองกรณีมิจฉาชีพเอาบัตรไปทำธุรกรรมผิดกฎหมาย) หากบัตรหมดอายุต้องไปทำใหม่ (ฟรี)

กฎหมายจราจร

การใช้รถใช้ถนน เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากต่อทุกคน เพราะว่าเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องใช้ร่วมกัน ดังนั้นต้องรู้จักกฎจราจรเพื่อไม่ให้ตัวเองทำผิดจนอาจจะเกิดอุบัติเหตุต่อตัวเองและบุคคลอื่นได้ กฎหมายจราจรที่สำคัญก็จะมี การขับขี่ไม่ควรเกิดความเร็วที่กำหนด(90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) การไม่จอดในที่ห้ามจอด, ไม่แซงซ้าย, ไม่ขับรถย้อนศร, ไม่ปฏิบัติตามป้ายสัญญาณจราจร เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีเรื่องของการใช้กฎหมายเกี่ยวกับรถยนต์ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการทำประกันภัย การต่อภาษี เรื่องเหล่านี้ถือว่ามีความจำเป็นต้องรู้

กฎหมายเกี่ยวกับการรับราชการทหาร

ทหาร เป็นอีกหนึ่งหมุดสำคัญของชายไทยทุกคน เมื่ออายุย่างเข้า 18 ปี จะต้องดำเนินกิจการทางทหารให้เรียบร้อย เริ่มจากการแสดงตนเพื่อลงบัญชีทหารกองเกินในเดือน พฤศจิกายน ของปีที่อายุย่างเข้า 18 ปี ที่สัสดีอำเภอ ตามทะเบียนบ้านของตัวเอง โดยยึดให้ทะเบียนบ้านตัวเองเป็นภูมิลำเนาทหารด้วยในตัว จากนั้นก็จะต้องเข้ารับการคัดเลือกทหารเกณฑ์ตามลำดับ จะสมัครใจเป็นทหาร หรือ จะจับใบดำใบแดง ก็ได้ ส่วนการยกเว้นอื่นก็สามารถทำได้ตามกำหนด เช่น การเรียน รด., การสอบบรรจุข้าราชการอื่น, บุคคลที่ร่างกายไม่สมประกอบ เป็นต้น เรื่องนี้ต้องศึกษาให้ดี อย่าหนีทหาร เพราะอาจจะทำให้ตัวเองและครอบครัวเดือดร้อนกันได้หมด

กฎหมายเกี่ยวกับอาวุธปืน

ช่วงนี้มีข่าวเกี่ยวกับปืน ออกมาเยอะมาก ดังนั้นเราต้องรู้จักกฎหมายเกี่ยวกับปืนเพื่อให้ดำเนินได้อย่างถูกต้อง สำหรับปืนนั้น หากต้องการจะมีครอบครองจะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อยื่นคำร้องขอตามแบบ ป.1 ในกรณีที่เราย้ายปืน เราต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ภายใน 15 วัน และ หากเราได้รับมรดกปืนจากพ่อแม่ ต้องแจ้งต่อเจ้าหน้าที่เพื่อรับทราบต่อไป รวมถึงกรณีสูญหายด้วย (ป้องกันตัวเองในกรณีที่มีคนเอาปืนที่หายไปก่อเหตุอาชญากรรม)

กฎหมายเหล่านี้ถือว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวที่เราอย่าได้มองข้ามเด็ดขาด บางครั้งเราเผลอไม่ทำตามกฎหมายจนคิดว่าเป็นเรื่องที่ทำได้ สุดท้ายถูกตำรวจดำเนินคดีจนเป็นเรื่องเป็นราวเสียเงิน เสียทรัพย์ เสียเวลาโดยใช่เหตุ ดังนั้นควรรู้จักเอาไว้เพื่อทำไม่ให้ผิดดีที่สุด

�����·������Ǣ�ͧ�Ѻ���Ե��Ш��ѹ��дѺ�ؤ��

�ؤ�����͡�� 2 ������ ���

1. �ؤ�Ÿ����� ���¶֧�ؤ�ŷ���դ�������ö ���Է�Ի�Сͺ�Եԡ�������������

2. �ԵԺؤ�� ���¶֧�ؤ�ŷ�衮��������Ԣ�� ���Է��

��Сͺ�Եԡ������������� ���� �Ѵ ��ŹԸ� ��Ҥ� ��ҧ�����ǹ�ӡѴ ��ǧ������ͧ (��з�ǧ ��ǧ ��� �Ⱥ�� �ѧ��Ѵ)

�����·������Ǣ�ͧ�Ѻ���Ե��Ш��ѹ��дѺ�ؤ������ö���͡�� 4 ������ ���

1. �����·������ǡѺ��÷���¹��ɮ�� ����

1.1 ����駤��Դ ����駵�͹�·���¹����Ѻ��

㹷�ͧ������Դ���� 15 �ѹ������Դ

1.2 ����駤���� ����駵�͹�·���¹����Ѻ��

㹷�ͧ����赹�ժ�������㹷���¹��ɮ������ 24 �������

1.3 ��������·������ ����駵�͹�·���¹����Ѻ��

㹷�ͧ����赹�ժ�������㹷���¹��ɮ������ 15 �ѹ�Ѻ���ѹ��������͡

2. �����·������Ǣ�ͧ�Ѻ�ѵû�ЪҪ� ����

2.1 �ؤ�ż�����ѭ�ҵ��«�������ص���� 15 �պ�Ժ�ó�

���� ������Թ 70 �պ�Ժ�ó��ͧ�պѵû�Шӵ�ǻ�ЪҪ�

2.2 �ѵû�Шӵ�ǻ�ЪҪ�������� 6 �� �Ѻ��

�ѹ�͡�ѵ� �������ͺѵ�������ؼ���ͺѵõ�ͧ�պѵ��������� 60 �ѹ�Ѻ���ѹ���ѵ����������� ���͡�͹�ѹ������غѵ� 60 �ѹ

3. �����·������ǡѺ���Ѻ�Ҫ��÷��� ����

3.1 ��·�����ѭ�ҵ�����˹�ҷ���Ѻ�Ҫ��÷���

���µ��ͧ�ء��

3.2 ��·�����ѭ�ҵ��� �����������ҧ��� 18 ��

� �.�. ������ʴ��������ŧ�ѭ�շ��áͧ�Թ���㹻� �.�. ��� � �������Ңͧ��

3.3 ���áͧ�Թ�����������ҧ��� 21 ��㹻� �.�.

㴵�ͧ��ʴ��������Ѻ�������¡�������ͷ�ͧ��������������Ңͧ�����㹻� �.�. ��� ������Ѻ�������¡���Ƿ��áͧ�Թ��ͧ����餳С�����õ�Ǩ���͡�ӡ�õ�Ǩ���͡�����˹��Ѵ �¹���Ӥѭ���áͧ�Թ �ѵû�Шӵ�ǻ�ЪҪ� ��л�С�ȹ�ºѵ�������ѡ�ҹ����֡�� ���ʴ�����

4. �����·������ǡѺ��÷ӹԵԡ����ѭ��

4.1 �Եԡ��� ���¶֧ ����ʴ�ਵ�Ңͧ�ؤ��

���С�зӪͺ���¡����´��¤�����Ѥ�����͡������Դ�������¹�ŧ �͹ ʧǹ �����ЧѺ�����Է�� �Եԡ����������ó��鹼��ӹԵԡ����е�ͧ�դ�������ö���Է�ԷӹԵԡ����ªͺ�����ͧ�ؤ�Ť�����

4.2 �ѭ�� ���¶֧����ʴ�ਵ�Ңͧ�ؤ�� 2 ��

����ͧ�ç�ѹ �� �ѭ�Ҩ��ç��ҹ �ѭ�ҫ��͢�� �ѭ����ҷ�Ѿ�� �繵� �ѭ�Ҩ��繹Եԡ������� ��Եԡ����Ҩ������ѭ�� �� ��÷ӾԹ�¡��� ����ɳ� ������������Ҩз������ ���

�����»���������繡����·��ѭ�ѵ����㹻����š���������оҳԪ�����ͤǺ�����ͧ�ѹ������ЪҪ����ѭ������Ѵ������º�ѹ ���ͷӤ�����ŧ�ѹ�����ͧ����繡�âѴ��͡��������ͤ���ʧ����º���������Ÿ����ѹ�բͧ��ЪҪ�

กฎหมายในชีวิตประจำวันมีความสำคัญต่อนักเรียนและสังคมอย่างไร

กฎหมายทาให้ผู้ปฏิบัติตามสามารถดารงชีวิตประจ าวันได้อย่างมีความสุข ไม่ต้องคอยหลบเลี่ยง ความผิด มีสมาธิกับการทางาน ไม่ต้องเกรงกลังการถูกลงโทษส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีชีวิตครอบครัวมีความสุข กฎหมายทาให้คนรู้จักสิทธิหน้าที่ของตัวเองที่ควรกระทาต่อสังคม ไม่ออกนอกทางในสิ่งที่ไม่ใช่หน้าที่ ทาให้บ้านเมืองเป็นไปอย่างมีระบบระเบียบ อีก ...

กฎหมายในชีวิตประจำวัน มี ประโยชน์ อย่างไร

กฎหมายเปนสิ่งที่เกี่ยวข้องกับทุกคน ช่วยควบคุมความประพฤติของสมาชิกในสังคมให้ ปฏิบัติตนไปในทางที่เหมาะสม ซึ่งจะทำาให้สังคมเปนระเบียบเรียบร้อยและสงบสุข ดังนั้น ทุกคนจึง จำาเปนต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย เพื่อที่จะปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ของสังคม

กฎหมายมีเรื่องอะไรบ้าง

(1) รัฐธรรมนูญ.
(2) กฎหมายปกครอง.
(3) กฎหมายอาญา.
(4) กฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม.
(5) กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา.
(6) กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความแพ่ง.

กฎหมายของไทยมีอะไรบ้าง

พระราชบัญญัติและบทกฎหมาย ซึ่งหลายฉบับสร้างและแก้ไขเพิ่มเติม เช่น กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายที่ดิน ประมวลรัษฎากร กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายแพ่งแผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล กฎหมายแรงงาน และพระธรรมนูญศาลยุติธรรม เป็นต้น