สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด

สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด

สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด

          ��ö��·ʹ�����Ѻ��͹�ͧ��ҧ��¨ҡ����������繼Ũҡ��÷�˹�ҷ��ͧ������š�Ţ�Ҵ�˭�����������¡��� �ô��Ǥ���ԡ(nucleic acid) ��觻�Сͺ仴�����þѹ�ء������������ѡ�ѹ��㹪��� �������(DNA) �����÷���˹�ҷ��Ǻ���������ҧ�õչ�ժ��� ���������(RNA)


           �õչ�繪�����š�Ţ�Ҵ�˭������ç���ҧ��ͺ�з������ͧ��ҧ�������ʴ��������͡�ѡɳ�ͧ���� �����ҧ��Դ�ѹ�����ͧ���Сͺ���õչ����ҧ��Դ�ѹ���� �õչ���ҧ����ѧ��˹�ҷ�����Ӥѭ� �ա�������ҧ ˹�ҷ�����Ӥѭ���ҧ˹�觡��͡�����͹������������Դ��ԡ�������յ�ҧ� ����� ��ԡ����ҵ�ҧ� ���᷺��ԫ�� �� ������ª�����š�Ţ�Ҵ�˭�����բ�Ҵ���ŧ����������ѧ�ҹ���������ٻ ATP ���ͻ�ԡ����ҡ���ѧ�����������š�Ţ�Ҵ�˭� �� ��������õ �ԾԴ �ҡ��õ�ǡ�ҧ㹡�кǹ������� ��ǹ��ͧ����¡����觴����͹�������� �ѧ��鹤����㹡�����ҧ�õչ����ҡ��������þѹ�ء����֧��ͧ�դ�����ҡ�����ҡ�ͷ����ѧ�������õչ���������ҧ�����

          �����㹡�����ҧ�õչ�ͧ����ժ��Ե�ء��Դ������ٻ���� (code) ����˹��ӴѺ������§��Ǣͧ�ô��������¾���ྻ䷴� �ѧ������ʴѧ����Ǩ֧�繵�ǡ�˹��ç���ҧ�дѺ������Ԣͧ�õչ

          �ô��������е�ǫ����˹������¢ͧ�õչ�ж١��˹��������ʺ������������ͫ���Ѻ�����žѹ�ء����Ҩҡ��������ա��˹��

          �����žѹ�ء����ҡ������ͷ����·ʹ��ѧ��������͹�� ������¡��� �к����ʾѹ�ء��� (genetic code)

ประเภทของสารพันธุกรรม
     สารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตมีลักษณะเป็นกรดนิวคลีอิกที่มีขนาดใหญ่ สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ ดีเอ็นเอ และอาร์เอ็นเอ ซึ่งมีลักษณะโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันดังนี้
     1.  กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก หรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid ; DNA) 
    
ดีเอ็นเอมีลักษณะเป็นกรดนิวคลีอิกขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็นสายพอลินิวคลีโอไทด์สองสายคู่กัน และพันม้วนกันเป็นเกลียว โดยสายพอลินิวคลีโอไทด์ทั้งสองจะยึดเหนี่ยวกันได้ด้วยพันธะไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นระหว่างหมู่ไนโตรเจนเบสที่มีความจำเพาะต่อกัน คือ อะดินีน (A) จะเกิดพันธะกับไทมีน (T) และกวานีน (G) จะเกิดพันธะกับไซโทซีน (C) และเรียกไนโตรเจนเบสที่มีความจำเพาะต่อกันเป็นคู่ว่า เบสคู่สม (complementary base) 
    
ดีเอ็นเอเป็นสารพันธุกรรมที่สามารถพบได้ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ โดยมมีนิวเคลียสเป็นแหล่งดีเอ็นเอหลักของเซลล์ เรียกว่า ยีโนมิกดีเอ็นเอ (genomic DNA) นอกจากนี้ยังสามารถพบดีเอ็นเอได้ในออร์แกร์เนลล์ต่าง ๆ ที่อยู่ในไซโทพลาสซึมของเซลล์   โดยเซลล์พืชพบในคลอโรพลาสต์   (chloroplast)   และไมโทคอนเดรีย(mitochondria)   ส่วนเซลล์สัตว์จะพบในไมโทคอนเดรียเท่านั้น
     หน้าที่หลักของดีเอ็นเอ คือ การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต พัฒนาการและการทำงานของเซลล์และเนื้อเยื่อต่าง ๆ รวมถึงการส่งผ่านข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับลักษณะของรุ่นพ่อแม่ไปสู่รุ่นลูก ซึ่งการเก็บข้อมูลของดีเอ็นเอเกิดขึ้นได้ โดยอาศัยการจัดเรียงลำดับของนิวคลีโอไทด์ที่มีไนโตรเจนเบสแตกต่างกันทำให้เกิดเป็นรหัสข้อมูลลักษณะสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน 64 แบบ
     2.  กรดไรโบนิวคลีอิก หรืออาร์เอ็นเอ (ribonucleic acid ; RNA)
     อาร์เอ็นเอมีลักษณะเป็นกรดนิวคลีอิกกขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็นสายพอลินิวคลีโอไทด์สายเดียวโดยในโมเลกุลของนิวคลีโอไทด์จะประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ไนโตรเจนเบส น้ำตาลเพนโทส และหมู่ฟอสเฟต เหมือนกับดีเอ็นเอ แต่จะมีลักษณะที่แตกต่าจากดีเอ็นเอ คือ
          1.  น้ำตาลเพนโทสในอาร์เอ็นเอจะเป็นน้ำตาลไรโบสในขณะที่ดีเอ็นเอจะเป็นน้ำตาลดีออกซีไรโบส
          2.  ในอาร์เอ็นเอจะมีไนโตรเจนเบสเป็น ยูราซิล (U) แทนไนโตรเจนเบส ไทมีน (T) ในดีเอ็นเอ
          อาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรมที่สามารถพบได้ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตโดยอาจจะพบได้ในไซโทพลาซึมนิวเคลียสและในไมโทคอนเดรีย
               1)  เอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA) เป็นอาร์เอ็นเอที่สังเคราะห์ในนิวเคลียสของเซลล์แล้วส่งผ่านออกไปยังไซโทพลาซึม เพื่อรวมตัวกับไรโบโซมและทีอาร์เอ็นเอทำหน้าที่แปลรหัส (translation) ในการสังเคราะห์โปรตีนต่าง ๆ เอ็มอาร์เอ็นเอนี้เป็นกรดนิวคลีอิกที่มีสภาพไม่เสถียร
               2)  ทีอาร์เอ็นเอ (tRAN) เป็นอาร์เอ็นเอที่ถอดแบบมาจากเอ็มอาร์เอ็นเอ โดยจะถอดรหัสทุก ๆ 3 ลำดับเบสที่เรียงต่อกัน เรียกว่า โคดอน (codon) ออกมาเป็นคู่สมที่เรียกว่า แอนตี้โคดอน (anti-codon) ทีอาร์เอ็นเอทุกโมเลกุลจะมีการเรียงตัวของเบส 3 ตำแหน่งสุดท้ายเหมือนกันในทุกโมเลกุล เป็น CCA โดย A หรือ อะดีนีนตัวสุดท้ายจะจับกับกรดอะมิโนที่จำเพาะ
               3)  อาร์อาร์เอ็นเอ (rRNA) ประกอบอยู่ในไรโบโซมที่มีโปรตีน 60% และอาร์เอ็นเอ 40% ในเซลล์ยูคาริโอตจะมี 80S ไรโบโซมที่สามารถแบ่งออกเป็น 60S ไรโบโซมและ 40S ไรโบโซม ส่วนในเซลล์โปรคาริโอตจะมี 70S ไรโบโซม ที่สามารถแบ่งออกเป็น 50S ไรโบโซม และ 30S ไรโบโซม ไรโบโซมจะจับอยู่บนสายเอ็มอาร์เอ็นเอซึ่งเรียกว่า โพลีโซม (polysome)

สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด
สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด

     โครงสร้างของดีเอ็นเอ                    โครงสร้างของอาร์เอ็นเอ


สารพันธุกรรมมีกี่ชนิดมีอะไรบ้าง

สารพันธุกรรมในเซลล์สิ่งมีชีวิตเรียกรวมว่า กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ดีเอ็นเอ (DNA – deoxyribonucleic acid) 2. อาร์เอ็นเอ (RNA – ribonucleic acid)

สารพันธุกรรม จัดเป็นสารชีวโมเลกุลในข้อใด

สารพันธุกรรม (อังกฤษ: Genetic Materials) คือ สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลรหัสสำหรับการทำงานของของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ เอาไว้ เช่น เมื่อสิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ จะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซีส (meiosis) ก็จะมีการแบ่งสารพันธุกรรมนี้ไปยังเซลล์ที่แบ่งไปแล้วด้วย โดยยังคงมีข้อมูลครบถ้วนสารชีวโมเลกุลที่ทำ ...

สารพันธุกรรมมีความสําคัญอย่างไร

ดีเอ็นเอ คือ สารพันธุกรรมที่ส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิตทำหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรม มีลักษณะเป็นเกลียวคู่คล้ายบันไดเวียนอยู่ในไมโครโซมและไมโทรคอนเดรียของ สิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ดีเอ็นเอจะเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่อยู่ในคน พืช และสัตว์แล้ว ยังทำหน้าที่เก็บรักษาและถ่ายทอดรหัสพันธุกรรมซึ่งมีความสำคัญต่อการกำหนด ลักษณะต่างๆของ ...

ข้อใดเป็นองค์ประกอบของดีเอ็นเอ

DNA ประกอบด้วย หน่วยย่อยของ Nucleotides จับกันด้วยพันธะ Phosphodiester Bond และ Nucleotide นี้ ประกอบด้วย น้ำตาล Deoxyribose หมู่ฟอสเฟต และ เบส (Nitrogenous Base) 4 ชนิด ได้แก่ Guanine (G), Adenine (A) (Purine-มีวงแหวน 2 วง) Cytosine (C), Thymine (T) (Pyrimidine-มีวงแหวน 1 วง)