ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง

  • การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
การประกาศตัวแปร

โดย

จีระพงษ์ โพพันธุ์

-

4 สิงหาคม 2019

1

1450

ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง

รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C

          การสร้าวตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า  การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคำสั่งให้ถูกต้องตามแบบการประกาศตัวแปร แสดงดังนี้


type variable;

type:  ชนิดของตัวแปร

variable: ชื่อของตัวแปร  ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C


     การเขียนคำสั่งเพื่อประกาศตัวแปร  ส่วนใหญ่แล้วจะเขียนไว้ในส่วนหัวของโปรแกรมก่อนฟังก์ชัน main ซึ่งการเขียนไว้ในตำแหน่งดังกล่าว  จะทำให้ตัวแปรเหล่านั้นสามารถเรียกใช้จากที่ใดก็ได้ในโปรแกรม  ดัง

ตัวอย่าง

ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง


หลักการตั้งชื่อตัวแปร

          ในการประกาศสร้างตัวแปรต้องมีการกำหนดชื่อ ซึ่งชื่อนั้นไม่ใช่ว่าจะตั้งให้สื่อความหมายถึงข้อมูลที่เก็บอย่างเดียว  โดยไม่คำนึงถึงอย่างอื่น   เนื่องจากภาษา C มีข้อกำหนดในการตั้งชื่อตัวแปรเอาไว้ แล้วถ้าตั้งชื่อผิดหลักการเหล่านี้ โปรแกรมจะไม่สามารถทำงานได้ หลักการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C แสดงไว้ดังนี้

          1. ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _(Underscore) เท่านั้น

          2. ภายในชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือตัวเลข0-9 หรือเครื่องหมาย _

          3. ภายในชื่อห้ามเว้นช่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2

          4. ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่มีความหมายแตกต่างกัน

          5. ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word) ดังนี้

ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง



ตัวแปรสำหรับข้อความ

          ในภาษา C ไม่มีการกำหนดชนิดของตัวแปรสำหรับข้อความโดยตรง แต่จะใช้การกำหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการกำหนดขนาดแทน และจะเรียกตัวแปรสำหรับเก้บข้อความว่า ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศตัวแปรสตริงแสดงได้ดังนี้


char[n] variable;

n : ขนาดของข้อความ หรือจำนวนอักขระในข้อความ

variable : ชื่อตัวแปร


ตัวอย่าง

          Char[10] name; –> สร้างตัวแปรชื่อว่า name เพื่อเก็บข้อความที่มีความยาว 9 อักขระ (ที่เหลือ 9 อักขระเนื่องจากต้องเก็บที่ไว้ให้ตำแหน่งสุดท้ายคือ \0)

          วิธีการกำหนดข้อความให้ตรงกับตัวแปรที่สร้างขึ้นสามารถทำได้หลายแบบ โดยอาจจะกำหนดข้อความทั้งหมดไว้ภายในเครื่อง “ ”


ตัวอย่าง

          char[11] name = “jeeraphong”;

          หรือถ้าต้องการกำหนดแบบเป็นอักขระก็สามารถทำได้ โดยแต่ละอักขระจะต้องเขียนภายในเครื่องหมาย ‘ ’ มีคั่นระหว่างกลางด้วย , และตัวสุดท้ายต้องเป็น \0


ตัวอย่าง

          char[11] name = {‘j’,’e’,’e’,’r’,’a’,’p’,’h’,’o’,’n’,’g’,’\0’};

          ถ้าไม่กำหนดขนาดของตัวแปรที่จะสร้างขึ้น ตัวแปลภาษาซีจะกำหนดให้เอง โดยมีขนาดของตัวแปรเท่ากับจำนวนอักขระในข้อความและบวกตำแหน่งของ \0 อีก 1 ตำแหน่ง


ตัวอย่าง

          char[ ] name = “jeeraphong”; –> ตัวแปลภาษาจะกำหนดขนาดอักขระให้จำนวน 11 ตัว





อ้างอิง

Rungrote, “ตัวแปรในภาษาซี”, https://sites.google.com/site/krurote/kar-kheiyn-porkaerm-phasa-si/ray-laxeiyd-menu-phasa-si/tawpaer-ni-phasa-si

ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง

สื่อวีดิทัศน์การสอน เรื่อง :: โครงสร้างของภาษาภาษาซี ::

 

———————————————————————————————————————————

โครงสร้างของภาษาภาษาซีแบ่งออกเป็น 4 ส่วนดังนี้

ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง
ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง

——————————————————————————————————————————

1. ส่วนหัวของโปรแกรม
        ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทำการใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรมในที่นี่คำสั่ง #includeใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นำเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุ
คือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกำหนด Preprocessing Directives นี้จะต้องขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ
        คำสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นำเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ
        #include <ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์> คอมไพเลอร์จะทำการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้ สำหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ (ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include)
        #include “ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์” คอมไพเลอร์จะทำการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเร็คทอรีเดียวกันกับไฟล์ Source Code นั้น แต่ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ

——————————————————————————————————————————

2. ส่วนของฟังก์ชันหลัก
        ฟังก์ชันที่กำหนดชึ้นมาชื่อฟังก์ชัน main() โดยทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชัน main() ทำหน้าที่เป็นฟังก์ชันหลักในการทำงานในการประมวลผลโปรแกรมทุกครั้ง
        ฟังก์ชันหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชัน main() ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชันนี้อยู่ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชันคือ main แปลว่า “หลัก” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษาซีจึงขาดฟังก์ชันนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชันจะถูกกำหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทำงานของฟังก์ชันจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟังก์ชัน main() สามารถเขียนในรูปแบบของ int main ก็ได้ มีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชัน main() จะไม่มีอาร์กิวเมนต์ (Argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชัน และจะมีการคืนค่ากลับออกไปจากฟังก์ชันด้วย

main()    เทียบเท่ากับ    void main(void) ----> ไม่คืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชัน

        Argument    คือ  ตัวรับค่าเข้ามาในฟังก์ชัน
        Parameter   คือ  ค่าที่ส่งไปยังฟังก์ชันค่า Argument และ Parameter ต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน เช่น หากกำหนดให้ Argument เป็นข้อมูลชนิดตัวอักษรแล้วค่า Parameter ที่ส่งไปก็ต้องเป็นชนิดตัวอักษรด้วย

        ตัวอย่างที่ 1 argument และ parameter

#include
void show (char a) -----------> Argument รับตัวอักษร 'a' มาในฟังก์ชัน
{
        printf("%c",a) ;
}
void main(void) Parameter ส่งตัวอักษร 'a' ไปยังฟังก์ชัน show( )
{
        show('a') ;
}

——————————————————————————————————————————

3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
         เป็นส่วนของการเขียนคำสั่งต่าง ๆ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ในการเขียนคำสั่งจะเขียนภายในเครื่องหมายปีกกาเปิด { และเครื่องหมายปีกกาปิด } โดยปกติส่วนของการเขียนโปรแกรมจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ
          1) ส่วนของการประกาศตัวแปร คือ ส่วนที่ใช้ในการกำหนดตัวแปรที่จะใช้งานในการเขียนโปรแกรม
          2) ส่วนของคำสั่ง หรือ ฟังก์ชันต่าง ๆ คือ ส่วนที่ใช้ในการกำหนดตัวแปรที่จะใช้งานในการเขียนโปรแกรมพิมพ์ฟังก์ชันเสร็จแล้วจะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ; เสมอ

——————————————————————————————————————————

4. ส่วนของการเปิดโปรแกรมและปิดโปรแกรม
         ตามโครงสร้างของภาษาซีจะต้องมีการกำหนดจุดเริ่มต้นและจบโปรแกรม โดยในที่นี้ใช้เครื่องหมาย
ปีกกาเปิด { ในการระบุตำแหน่งการเริ่มต้นโปรแกรม และใช้เครื่องหมายปีกกาปิด } ในการระบุตำแหน่งการจบโปรแกรม

(แหล่งข้อมูล...  คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C ฉบับสมบูรณ์ / อรพิน ประวัติบริสุทธิ์)
(แหล่งข้อมูล...  การเขียนโปรแกรมภาษา C / จีระพงษ์ โพพันธ์)

——————————————————————————————————————————

ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง
ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง
ภาษาซี ใช้ ตัวแปร ภาษา ชนิด ใด ในการแปล คํา สั่ง

ซีใช้ตัวแปลภาษาชนิดใดในการแปลคำสั่ง

compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรมที่มนุษย์เขียนขึ้นไปเป็น ภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์ (compile) โดยจะทำการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ แล้วทำการแปลผลทีเดียว

ภาษาซีใช้ตัวแปรชนิดใด

ในภาษา C ไม่มีการกำหนดชนิดของตัวแปรสำหรับข้อความโดยตรง แต่จะใช้การกำหนดชนิดของตัวแปร อักขระ (char) ร่วมกับการกำหนดขนาดแทน และจะเรียกตัวแปรสำหรับเก็บข้อความว่า ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศตัวแปรสตริงแสดงได้ดังนี้ char name[n] = "str"; name ชื่อของตัวแปร n ขนาดของข้อความ หรือจำนวนอักขระในข้อความ

ภาษาซีเหมาะสมสําหรับการเขียนโปรแกรมลักษณะแบบใด

ภาษาซี C จัดเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่นิยมใช้งาน ซึ่งภาษา c จัดเป็นภาษาระดับกลาง (Middle-Level Language) เหมาะกับการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง (Structured Programming) โดยมีคุณสมบัติโดดเด่นอย่างหนึ่งคือ มีความยืดหยุ่นสูง (Flexible Level) กล่าวคือ สามารถทำงานกับเครื่องมือต่างๆ สามารถปรับเปลี่ยนการเขียนโปรแกรมในรูป ...

Float คือ อะไร ในภาษาซี

ชนิดของข้อมูลในภาษาซี 2. ข้อมูลชนิดตัวเลขทศนิยม (Float) คือ เลขทศนิยมชนิดคงที่ หรืออาจจะเป็นทศนิยม แบบไม่รู้จบ หรืออาจจะเป็นเลขทศนิยมที่เขียนในรูป E (หรือ e) ยกก าลัง ตัวเลขทศนิยมเหล่านี้ สามารถน ามาใช้ในการค านวณได้ ตัวอย่างเลขทศนิยมนี้ได้แก่ 20.25, -0.60 , 58.96 , 5.40e04 เป็นต้น