กลองชนิดใดที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2

             เป็นยุคที่เรียกว่า " ดนตรีไทยในโลกอินเตอร์เน็ต " นั่นเอง นับเป็นการยกเครื่องหรือ การ Re – Engineering อีกครั้งหนึ่งเรียกว่ายุค โลกาภิวัตน์ หรือ Globalizationเป็นยุคที่ทุกชีวิตในโลกสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรม และการสื่อสารซึ่งกันและกันได้เพียงปลายนิ้วกระดิก ( คลิก ) อาจเรียกได้ว่ายุคนี้เป็นยุคที่สังคมโลกใกล้กันเพียงลัดนิ้วมือโดยผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถส่งภาพ เสียง และข้อมูลต่างๆถึงกันได้ทันทีที่กระดิกนิ้วเท่านั้น เมื่อการดนตรีไทยได้เดินทางเข้าสู่ยุคอินเตอร์เน็ต มีเวปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีไทยจริงๆขึ้นมาเป็นครั้งแรกคือ http://www.dontrithaitoday.com ขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2542 นับเป็นการปรับตัวตนของดนตรีไทย ให้เป็นดนตรีที่สามารถเข้าใจในสังคมได้มากยิ่งขึ้น การทำดนตรีไทยเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตนั้น ทำให้วิชาการด้านดนตรีไทยเผยแพร่ไปได้ทั่วโลกโดยผ่านการสื่อสารที่เป็นสากลนี้ แต่อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศนี้แม้มีคุณอนันต์ หากนำไปใช้อย่างไม่ถูกต้องก็จะมีโทษมหันต์ กลายเป็นการสื่อสารสารสนเทศที่แฝงและเต็มไปด้วยพิษภัยอย่างรุนแรงได้เช่นกัน

กลองชนิดใดที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2


     ประวัติ

              วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่เป็นวงดนตรีที่พัฒนามาจากวงปี่พาทย์เครื่องคู่อีกต่อหนึ่ง

     เกิดขึ้นในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว    รัชกาลที่   4    แห่งกรุง

     รัตนโกสินทร์โดยมีมูลเหตุมาจากการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็กขึ้น

     ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่่หัว พระอนุชาในรัชกาลที่ 4

     และเมื่อนำเครื่องดนตรี  2   ชิ้นนี้เข้าไปประสมเพิ่มในวงปี่พาทย์เครื่องคู่    อย่างที่นัก

     ดนตรีไทย  เรียกว่า "เพิ่มหัวและท้าย"  (เพราะวางขนาบด้านซ้ายและด้านขวาของวง

     ติดกับระนาดเอกและระนาดทุ้มตามลำดับ) จึงได้เป็นวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ซึ่งนับเป็น

     วงปี่พาทย์ที่มีขนาดใหญ่และสมบูรณ์ที่สุด และนิยมบรรเลงมาจนถึงปัจจุบันนี้

             เครื่องดนตรีที่ประสมอยู่ในวงปี่พาทย์เครื่องคู่  ประกอบด้วย

1.  ระนาดเอก

2.   ระนาดทุ้ม

3.  ระนาดเอกเหล็ก

4.  ระนาดทุ้มเหล็ก

5.  ฆ้องวงใหญ่

6.  ฆ้องวงเล็ก

7.  ปี่ใน

8.  ปี่นอก

9.  ตะโพน

10.  กลองทัด

11.  ฉิ่ง

12.  กรับ

13.  ฉาบเล็ก

14.  ฉาบใหญ่

15.  โหม่ง       

1   ราง

1   ราง

1   ราง

1   ราง

1   วง

1   วง

1   เลา

1   เลา

1   ลูก

2   ลูก

1   คู่

1   คู่

1   คู่

1   คู่

1   ใบ        

      โอกาสในการนำวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่ไปใช้

                วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่เป็นวงดนตรีที่มีขนาดใหญ่     สามารถนำไปใช้บรรเลงประกอบ

     ในงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกับวงปี่พาทย์เครื่องห้าและวงปี่พาทย์เครื่องคู่ แต่เนื่อง

     จากวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่มีจำนวนเครื่องดนตรีที่มากชิ้น    อีกทั้งบางชิ้นมีน้ำหนักมาก   เช่น

     ระนาดเอกเหล็ก  และระนาดทุ้มเหล็ก  การเคลื่อนย้ายจึงทำได้ไม่สะดวกทำให้ไม่ค่อยเป็นที่

     นิยมสำหรับนำไปใช้บรรเลงประกอบในพิธีกรรม  หรือประกอบการแสดงต่าง ๆ เหมือน

     วงปี่พาทย์เครื่องห้าและเครื่องคู่ แต่จะพบเห็นว่านิยมนำไปใช้มากในการบรรเลงเพื่อความ

      บันเทิงทั่วไปเสียเป็นส่วนใหญ่

กลองชนิดใดที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2

     ประวัติ 
             วงปี่พาทย์เครื่องคู่ เป็นวงปี่พาทย์ที่ได้พัฒนามาจากวงปี่พาทย์เครื่องห้า  โดยเกิดขึ้น
     ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว    รัชกาลที่  3   แห่งกรุงรัตนโกสินทร์    ทั้งนี้
     เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์เครื่องดนตรีไทยขึ้นมา  2  ชิ้น  คือ  ระนาดทุ้ม   และฆ้องวงเล็ก
     เมื่อเอาเครื่องดนตรี  2  ชิ้นนี้ไปเพิ่มในวงปี่พาทย์เครื่องห้า จึงได้เป็นเครื่องดนตรีที่เข้าคู่กัน
     ดังนี้ ระนาดเอกคู่ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่คู่ฆ้องวงเล็ก  ปี่ในคู่ปี่นอก และตะโพนคู่กลองทัด
     จึงเป็นที่มาของการเรียกชื่อว่า  วงปี่พาทย์เครื่องคู่
             เครื่องดนตรีที่ประสมอยู่ในวงปี่พาทย์เครื่องคู่  ประกอบด้วย

1.  ปี่ใน
2.  ปี่นอก
3.  ระนาดเอก
4.  ระนาดทุ้ม
5.  ฆ้องวงใหญ่
6.  ฆ้องวงเล็ก
7.  ตะโพน
8.  กลองทัด
9.  ฉิ่ง
10.  ฉาบเล็ก
11.  ฉาบใหญ่
12.  กรับ
13.  โหม่ง

1
1
1
1
1
1
1
2
1
1
1
1
1  เลา
เลา
ราง
ราง
วง
วง
ลูก
ลูก
คู่
คู่
คู่
คู่
ใบ

      โอกาสในการนำวงปี่พาทย์เครื่องคู่ไปใช้
               สำหรับการนำวงปี่พาทย์เครื่องคู่ไปใช้นั้น ไม่ต่างจากวงปี่พาทย์เครื่องห้า คือ สามารถ
        นำไปใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรม  และบรรเลงเพื่อความบันเทิง  ได้เช่นเดียวกับวงปี่พาทย์
        เครื่องห้าทุกประการ กล่าวคือ
               1. ใช้บรรเลงประกอบพิธีกรรม เช่น พิธีไหว้ครู พิธีเปิดสถานที่ใหม่ พิธีกรรมทางศาสนา
        เช่น พิธีเจริญพระพุทธมนต์   การเทศน์มหาชาติ  หรือแม้กระทั่งงานบำเพ็ญกุศลศพต่าง ๆ
        เป็นต้น
               2. ใช้บรรเลงประกอบการแสดง  เช่น  การแสดงโขน   และละครต่าง ๆ  หรือแม้กระทั่ง
        การแสดงลิเกของภาคกลางก็สามารถใช้วงปี่พาทย์เครื่องคู่บรรเลงประกอบได้ด้วย
               3. ใช้บรรเลงเพื่อความบันเทิงทั่วไป เช่น บรรเลงประกอบการขับร้องหรือบรรเลงเฉพาะ
        เครื่องดนตรีล้วน  ๆ   ไม่มีการขับร้องร่วมก็ได้   ที่สำคัญยังมีความเหมาะสมกว่าวงปี่พาทย์
        เครื่องห้าอีกด้วย
               ทั้งเนื่องจากวงปี่พาทย์เครื่องคู่มีขนาดของวงในระดับกลาง ๆ  ไม่เล็ก  หรือไม่ใหญ่จน
        เกินไป การทำเพลงประกอบกิจกรรมต่าง ๆ   ข้างต้นนั้นจะทำให้ได้เสียงที่ผสมกลมกลืนกัน
        ดีกว่าวงปี่พาทย์เครื่องห้าอีกด้วย