สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

   สัญลักษณ์นิวเคลียร์(Nuclear Symbol) คือ สัญลักษณ์ที่เขียนเพื่อแสดงชื่อธาตุ เลขมวล และเลขอะตอมของธาตุ ซึ่งจะเขียนสัญลักษณ์ธาตุแทนชื่อธาตุไว้ตรงกลาง เขียนเลขอะตอมไว้ที่มุมซ้ายล่างของสัญลักษณธาตุและเขียนเลขมวลไว้ที่มุมซ้ายบนของสัญลักษณ์ธาตุ 

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

       X = สัญลักษณ์ธาตุ

       Z = เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน (p+)

       A = เลขมวล = จํานวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน (p++ n)

อนุภาคมูลฐานของอะตอม

       ภายในอะตอมประกอบด้วยอนุภาค ชนิดคือ โปรตอน(proton) นิวตรอน(neutron) และอิเล็กตรอน

(electron) เรียกอนุภาคทั้งสามชนิดนี้ว่า อนุภาคมูลฐานของอะตอม

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสัญลักษณ์นิวเคลียร์กับจำนวนอนุภาคมูลฐานในอะตอม

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

       การหาจำนวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

      จํานวนโปรตอน(p+)  = เลขอะตอม

จํานวนอิเล็กตรอน(e-)   = จํานวนโปรตอน(p+

เนื่องจากในสภาพปกติ ธาตุเป็นกลางทางไฟฟ้านั่นคือจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน

จำนวนนิวตรอน(n) = เลขมวล - เลขอะตอม

                              =  (p+ + n) -  (p+)

                              =  n (นิวตรอน)

ตัวอย่างการหาจำนวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

          จากสัญลักษณ์ธาตุคือธาตุออกซิเจน

          เลขอะตอม =จํานวนโปรตอน (p+) = 8

          เลขมวล = จํานวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน (p++ n) = 16

          ดังนั้นอนุภาคมูลฐานในอะตอมของธาตุออกซิเจนมีค่าดังนี้

          p= 8  

          e-  = 8(อะตอมของธาตุเป็นกลางทางไฟฟ้าคือ จำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน)

          n   = เลขมวล(p+ + n) – เลขอะตอม(p+)

               = 16 – 8

               = 8

       การหาจำนวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ กรณีที่อะตอมของธาตุไม่เป็นกลาง

ทางไฟฟ้ามี กรณี

    1. ธาตุมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เกิดจากอะตอมของธาตุเสียอิเล็กตรอน

    2. ธาตุมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เกิดจากอะตอมของธาตุรับอิเล็กตรอน

    ทั้ง กรณี จำนวนโปรตอนไม่มีการเปลี่ยนแปลง

        ตัวอย่างการหาจำนวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ กรณีที่อะตอมของธาตุ

ไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า

        1. ธาตุมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เกิดจากอะตอมของธาตุเสียอิเล็กตรอน

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

            จากสัญลักษณ์คือโซเดียมไอออน

            เลขอะตอม =จํานวนโปรตอน (p+) = 11

            เลขมวล จํานวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน (p+ + n) = 23 

            ดังนั้นอนุภาคมูลฐานในอะตอมมีค่าดังนี้

            p= 11  

            e-  = 10 (อะตอมของธาตุเสีย 1 อิเล็กตรอน เพราะมีประจุไฟฟ้า + 1)

            n   = เลขมวล(p+ + n)เลขอะตอม(p+)

                 = 23 – 11

                 = 12

        2. ธาตุมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ เกิดจากอะตอมของธาตุรับอิเล็กตรอน

สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

           จากสัญลักษณ์คือไนไตร์ดไอออน

           เลขอะตอม =จํานวนโปรตอน(p+) = 7

           เลขมวล   จํานวนโปรตอนรวมกับนิวตรอน(p+ + n) = 14

           ดังนั้นอนุภาคมูลฐานในอะตอมมีค่าดังนี้

           p= 7  

           e-  =  10(อะตอมของธาตุรับเพิ่ม 3 อิเล็กตรอน เพราะมีประจุไฟฟ้า - 3)

           n   = เลขมวล(p+ + n)เลขอะตอม(p+)

                = 14 – 7

                = 7

YouTube Video

YouTube Video

YouTube Video