โครงสร้างของ เครื่องยนต์ เล็กแก๊ส โซ ลี น และดีเซลมีลักษณะ อย่างไร

ส่วนประกอบ เครื่องยนต์ เล็ก แก๊ส โซ ลี น เป็นข้อมูลที่คุณสนใจค้นหาหรือไม่ เว็บไซต์ของเราจะแนะนำข้อมูลล่าสุดและถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ ส่วนประกอบ เครื่องยนต์ เล็ก แก๊ส โซ ลี น ในบทความนี้!

คุณกำลังดูวิดีโอ មន្តស្នេហ៏ស៊ីនដឺរេឡា ភាគទី 34 Mon Sne Cinderella EP 34 HD khmer.2018 อัปเดตจากช่อง Bor DYKH จากวันที่ 2018-08-12 พร้อมคำอธิบายด้านล่าง

សួស្តីបងប្អូនទាំងក្នុងនិងក្រៅប្រទេស channel: Seang lady​ សូមអភយ័ទោសរាល់ video ដែលមានបញ្ហា​ ឫចំណុចខ្វះខាត 👉សូមមេត្តាកុំធ្វីបាប​ channel ខ្ញុំអី🙏 👉សូមជួយ subscribe channel របស់ខ្ញុំផងបាទ🙏 -Disclaimer:បើសិនជាម្ចាស់ផលិតកម្មឫ original song មិនចង់ឃើញ video របស់លោកអ្នក​ សូមមេត្តា​ comments or message មកយើងខ្ញុំ​ ដើម្បីពួកខ្ញុំធ្វើការកែសម្រួល​ ឫ​ លុបចោល​ ៕​ 👉Thanks you for watching this video 🙏

ส่วนประกอบหน้าที่และการบำรุงรักษาของเครื่องยนต์เล็ก


วิดีโอข้อมูลชิ้นส่วนของเครื่องยนต์


อ้างอิงรูป :

              โดยปกติแล้วเครื่องยนต์ไม่ว่าจะเป็นชนิดเบนซินหรือดีเซล จะมีชิ้นส่วนประกอบคล้ายคลึงกัน อาจจะแตกต่างกันเล็กน้อยตรงที่เครื่องยนต์เบนซินจะจุดระเบิดด้วยหัวเทียน และเครื่องยนต์ดีเซนจะจุดระเบิดด้วยการอัดอากาศให้มีอุณหภูมิและความดันที่สูง และฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงเข้ามาปะทะทำให้เกิดการระเบิด นอกจากนั้นส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องยนต์เล็กโดยปกติจะเหมือนกันกับเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ เพียงแต่ขนาดเล็กกว่า เบากว่า แต่ส่วนประกอบสำคัญหลัก ๆ นั้น แทบไม่แตกต่างกัน ซึ่งต่อไปนี้จะแนะนำชิ้นส่วนประกอบที่สำคัญของเครื่องยนต์เล็ก ตำแหน่งการทำงานในเครื่องยนต์ และรวมถึงหน้าที่การทำงานดังต่อไปนี้


1.1) ฝาสูบ (Chlinder Head)

คือ ชิ้นส่วนที่อยู่ตำแหน่งบนสุดของเครื่องยนต์ ซึ่งทำหน้าที่ปิดส่วนบนของเครื่องยนต์ อีกทั้งยังเป็นที่ติดตั้งของชิ้นส่วนอย่างอื่นที่สำคัญ


อ้างอิงรูป :

ฝาสูบ (Chlinder Head)


การดูแล “ฝาสูบ”

เราจะต้องหมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องยนต์ โดยเฉพาะขณะที่เครื่องยนต์กำลังทำงาน ตรวจสอบฝาหม้อน้ำว่ารั่วหรือไม่ตรวจว่ามีลมอัดออกมาจากรอยต่อของฝาสูบหรือไม่ มีน้ำหยดไหลออกจากเครื่องมากหรือไม่หรือน้ำในหม้อน้ำลดระดับมากผิดปกติ ที่สำคัญ อย่ารอให้ไฟความร้อนเตือน เพราะบางครั้งฝาสูบอาจจะโก่งพร้อมกับระบบเตือนความร้อนอาจเพราะอายุและการทำงานของเครื่องยนต์

1.2) เสื้อสูบ (Chlinder Block)

คือ ชิ้นส่วนที่อยู่ตำแหน่งตอนกลางของเครื่องยนต์ โดยจะทำหน้าที่ห่อหุ้มกลไกภายในเครื่องยนต์เปรียบเสมือนห้องทำงาน ที่มีชิ้นส่วนประกอบอื่น ๆ มากมาย เช่น กระบอกสูบ เพลงข้อเหวี่ยง เป็นต้น


อ้างอิงรูป :

เสื้อสูบ (Chlinder Block)


การดูแล “เสื้อสูบ”

เสื้อสูบนั้น ผลิตจากวัสดุที่แข็งแรงทนทาน โดยเฉพาะเสื้อสูบที่ทำจากเหล็กจะมีความทนทานมาก เช่นนั้นเป็นไปได้ยากที่จะเกิดความเสียหาย เว้นแต่จะมีสาเหตุเกิดจากชิ้นส่วนอื่น ๆ ดังนั้นเราควรหมั่นตรวจสอบระบบน้ำมันหล่อเย็นและระบบอื่นด้วย

1.3) กระบอกสูบ (Chlinder)

คือ กระบอกเปรียบเสมือนห้องทำงานของลูกสูบ “การเคลื่อนที่” โดยกระบอกสูบจะเป็นส่วนที่ได้รับน้ำมันเชื้อเพลิงและอากาศ ซึ่งเชื่อเพลิงและอากาศจะเกิดการระเบิด ทั้งนี้ แรงระเบิดจะทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ในกระบอกสูบ กระบอกสูบมักจะไม่เกิดความเสียหาย ยกเว้นแต่ชิ้นส่วนภายใน เช่น ลูกสูบ ก้านสูบ เป็นต้น ทำให้กระบอกสูบชำรุดเสียหายได้


อ้างอิงรูป :

กระบอกสูบ (Chlinder)


การดูแล “กระบอกสูบ”

คงไม่มีการบำรุงรักษาสำหรับกระบอกสูบ แต่ควรตรวจและหมั่นดูน้ำมันหล่อลื่นอย่าให้ขาดหรือเกินมากเกินไป และระวังความเสียหายที่เกิดขึ้นจากชิ้นส่วนอื่น เช่น ลูกสูบ เป็นต้น

1.4) ลูกสูบ (Piston)

คือ ชิ้นส่วนสำคัญที่เคลื่อนที่ภายในกระบอกสูบ ทำหน้าที่สร้างแรงอัดต่อน้ำมันเชื้อเพลิงและอากาศ ให้มีความดันและอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการจุดระเบิดและเผาไหม้ ซึ่งลูกสูบเป็นตัวสร้างกำลังและส่งต่อออกมาภายในกระบอกสูบ โดยอาศัยก้านสูบในการถ่ายเทพลังงานไปยังเพลาข้อเหวี่ยง


อ้างอิงรูป :

ลูกสูบ (Piston)


การดูแล “ลูกสูบ”

จะต้องหมั่นต้องตรวจสอบระบบหล่อเย็นว่ามีน้ำหยดออกจากระบบหรือไม่ หรือปะเก็นมีรอยรั่วหรือไม่ และใช้น้ำมันหล่อลื่นถูกต้องตามคู่มือหรือไม่

1.5) แหวนลูกสูบ (Piston Ring)

        แหวงลูกสูบจะแบังออกเป็น 2 ชนิด คือ แหวงน้ำมัน และแหวงอัด

             1.5.1) แหวงอัด

                     จะทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้ความดันอากาศรั่วซึมออกจากกระบอกสูบ หรือห้องเผาไหม้ ทั้งนี้ถ้าไม่มีแหวงอัดอากาศจะทำให้ ไอดี รั่วไหลออกผ่านช่องว่างระหว่างลูกสูบกับผนังกระบอกสูบ

อ้างอิงรูป :

แหวงอัด 


             1.5.2) แหวงน้ำมัน

                    ทำหน้าที่กวาดน้ำมันหล่อลื่อที่ไหลตามผนังกระบอกสูบลงมา ไม่ให้ไหลไปยังห้องเผาไหม้ เพราะหากน้ำมันหล่อลื่อถูกดันขึ้นไปเผาไหม้ในห้องเผาไหม้มากเกินไป จะเกิดเป็นก๊าซคาร์บอน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้หัวเทียนบอดเคลือบวาล์ว และความเสียหายจะเกิดกับแหวงในที่สุด

อ้างอิงรูป :

การดูแล “แหวงลูกสูบ”

ควรใส่ใจกับการใช้ชนิดของน้ำมันหล่อลื่อ เราต้องเลือกใช้น้ำมันหล่อลื่อที่เหมาะสมกับชนิดของเครื่องยนต์ และควรตรวจสอบระบบน้ำหล่อเย็นให้ดี เพื่อป้องกันให้ลูกสูบมีความร้อนในขณะทำงานมากเกินไป เพราะอาจจะเกิดอันตรายให้กับแหวงลูกสูบได้

1.6) ก้านสูบ (Connecting Rod)

ทำหน้าที่ ถ่ายทอดกำลังจากการเคลื่อนที่ของลูกสูบ ที่เกิดจากการจุดระเบิดหรือเผาไหม้เชื้อเลิงภายในกระบอกสูบ โดยก้านสูบนี้จะส่งกำลังงานไปยังเพลงข้อเหวี่ยง และถ่ายทอดเป็นกำลังในการหมุนต่อไปยังชิ้นส่วนอื่น


อ้างอิงรูป :
อ้างอิงรูป :

ก้านสูบ (Connecting Rod)


การดูแล “ก้านสูบ”

การที่เราจะรู้ถึงความผิดปกติของก้านสูบนั้นยากมาก เพราะอาการที่ของเครื่องยนต์ที่จะเตือนให้รู้เรารู้ตัวก่อนแทบจะไม่มี สุดท้ายก็จะเกิดเสียงดังปัง เป็นอันว่าก้านสูบเริ่งจะชำรุดแล้ว ดังนั้นเราควรตรวจสอบระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ก่อนที่จะทำงาน

1.7) เพลาข้อเหวี่ยง (Crankshaft)

ทำหน้าที่ รับกำลังจากก้านสูบ และเปลี่ยนแรงการเคลื่อนที่ของลูกสูบที่ขึ้นลง หรือซ้ายขวา ไปเป็นการเคลื่อนที่แบบหมุนเป็นวงกลม เพื่อถ่ายทอกกำลังหมุนไปยังชิ้นส่วนอื่น ๆ


อ้างอิงรูป : และ

เพลาข้อเหวี่ยง (Crankshaft)


การดูแล “เพลงข้อเหวี่ยง”

การบำรุงรักษาแบริ่งให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์อยู่เสมอ โดยเราจะต้องเปลี่ยนน้ำมันหล่อลื่นให้ตรงเวลา

“อย่าลาก” หรือปล่อยให้น้ำมันหล่อลื่นแห้งจนเกินไป

1.8) เพลงลูกเบี้ยว (Camshaaft)

ทำหน้าที่เปิดวาล์วไอดีและวาล์วไอเสียจะปิด”เพื่อให้อากาศไหลเข้า”เมื่อเปิดวาล์วไอเสียวาล์วไอดีจะปิด”เพื่อให้ไอเสียไหลออก”


อ้างอิงรูป : /h5>

เพลงลูกเบี้ยว (Camshaaft)


การดูแล “เพลาลูกเบี้ยว”

โดยปกติแล้วลูกเบี้ยวจะไม่เสียหายง่าย ๆ แต่ชิ้นส่วนที่อาจจะเสียหาย คือเซนเซอร์เพลาลูกเบี้ยว ก็สามารถเปลี่ยนใหม่ได้ ราคาไม่แพง

1.9) ล้อช่วยแรง (Fly Wheel)

หรือล้อตุนกำลัง จะติดอยู่ที่ตำแหน่งปลายของเพลงข้อเหวี่ยง ทำหน้าที่สะสมกำลังงานเพื่อทำให้เครื่องยนต์เดินเรียบ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดกำลังจากเครื่องยนต์ ล้อช่วยแรงจะเพิ่งแรงหมุนข้อเหวี่ยงเป็น 2 เท่าตัวไม่ว่าเครื่องยนต์จะทำอัตราเร่งหรือลดก็ตาม


อ้างอิงรูป :

ล้อช่วยแรง (Fly Wheel)


การดูแล “ล้อช่วยแรง”

ล้อช่วยแรงผลิตขึ้นจากเหล็กกล้า จึงเป็นไปได้ยากที่จะแตก หัก หรือบิ่น เว้นแต่จะถูกกระแทงอย่างแรง ซึ่งหากเป็นเช่นนั้น ก็ต้องซื้อเปลี่ยนใหม่อย่างเดียว

1.10) อ่างน้ำมันเครื่อง (Crank Case)

หรืออ่างน้ำมันหล่อลื่น คือส่วนที่อยู่ช่องล่างของเครื่องยนต์ โดยทั่วไปแล้วอ่างน้ำมันเครื่องจะมีอยู่ 2 ส่วนด้วยกัน คือส่วนบนของอ่างจะถูกหล่อติดกับเสื้อสูบ และส่วนล่างจะเป็นอ่างที่ใช้เก็บน้ำมันหล่อลื่น โดยน้ำมันหล่อลื่นนั้นจะถูกดูดขึ้นไปหล่อเลี้ยงชิ้นส่วนที่ต้องการหล่อลื่นทั้งหมดของเครื่องยนต์


การดูแล “อ่างน้ำมันหล่อลื่น”

โดยปิกติแล้วอ่างน้ำมันหล่อลื่นจะไม่ค่อยเสียง่าย เว้นแต่จะถูกกระแทงอย่างแรง ส่วนมากจะเป็นปะเก็นอ่างน้ำมันเครื่องที่มีโอกาสที่จะเสียหายได้มากกว่าอ่างน้ำมันหล่อลื่น

1.11) ปั๊มน้ำ (Water Pump)

ทำหน้าที่สูบน้ำจากหม้อน้ำไประบายความร้อนให้กับชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ในขณะทำงาน โดยเรียกทั้งระบบว่า ระบบหล่อเย็น แต่สำหรับเครื่องยนต์เล็ก 2 จังหวะจะเป็น ระบบรายความร้อนด้วยอากาศจะไม่มีปั๊มน้ำอยู่ในระบบเครื่องยนต์


อ้างอิงรูป :

ปั๊มน้ำ (Water Pump)


การดูแล “ปั๊มน้ำ”

การเสียหายของปั๊มน้ำสามารถเกิดขึ้นได้ง่าย โดยเฉพาะเครื่องยนต์ที่มีความร้อนสูง ชิ้นส่วนที่จะเสียหายก่อนในปั๊มน้ำ คือซีลยางที่คอปั๊มน้ำ เนื่องจากซีลส่วนใหญ่จะผลิตจากยางสังเคราะห์ เมื่อถูกความร้อนมาก ๆ ซีลก็มักจะเสื่อมสภาพเร็ว

1.12) ปั๊มน้ำมันเครื่อง (Oil Pump)

หรือปั๊มน้ำมันหล่อลื่น ทำหน้าที่ดูดน้ำมันหล่อลื่นจากอ่างน้ำมันหล่อลื่นไปหล่อลื่นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ที่มีการเสียดสี ในขณะที่เครื่องยนต์ทำงาน โดยปั๊มน้ำมันหล่อลื่นจะถูกติดตั้งในเสื้อสูบ และทำการดูดน้ำมันหล่อลื่นให้ไหลไปตามทางท่อ โดยผ่านไส้กลองน้ำมันเครื่อง เพื่อป้องกันไม่ให้สิ่งสกปรกหลุดเข้าไปสร้างอันตรายให้แก่ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์


อ้างอิงรูป :

SAMSUNG</p>A;” data-image-description=”” data-image-meta=”{"aperture":"2.64","credit":"","camera":"GT-I9000","caption":"SAMSUNG","created_timestamp":"1352135995","copyright":"","focal_length":"3.51","iso":"160","shutter_speed":"0.10509031198686","title":"SAMSUNG","orientation":"0","latitude":"0","longitude":"0"}” data-image-title=”SAMSUNG” data-large-file=”/2019/01/94352-749773.jpg?w=512″ data-medium-file=”/2019/01/94352-749773.jpg?w=300″ data-orig-file=”/2019/01/94352-749773.jpg” data-orig-size=”512,384″ data-permalink=”/%e0%b8%aa%e0%b9%88%e0%b8%a7%e0%b8%99%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%81%e0%b8%ad%e0%b8%9a%e0%b8%ab%e0%b8%99%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b9%88%e0%b9%81%e0%b8%a5%e0%b8%b0%e0%b8%81%e0%b8%b2/samsung/” height=”328″ loading=”lazy” sizes=”(max-width: 437px) 100vw, 437px” src=”/2019/01/94352-749773.jpg?w=437&h=328″ srcset=”/2019/01/94352-749773.jpg?w=437&h=328 437w, /2019/01/94352-749773.jpg?w=150&h=113 150w, /2019/01/94352-749773.jpg?w=300&h=225 300w, /2019/01/94352-749773.jpg 512w” width=”437″>

ปั๊มน้ำมันเครื่อง (Oil Pump)


การดูแล “ปั๊มน้ำมันหล่อลื่น”

ปั๊มน้ำมันหล่อลื่นจะเสียได้ก็ต่อเมื่อไม่มีน้ำมันหล่อลื่นหรือน้ำมันหล่อลื่นขาด เพราะถ้าปั๊มน้ำมันหล่อลื่นมีปัญหาในการทำงาน นั่นหมายถึงไม่มีน้ำมันขึ้นไปหล่อลื่นการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนที่เสีนดสีกันในเครื่องยนต์

1.13) หม้อกรองอากาศ (Air Cleaner)

ทำหน้าที่กรองฝุ่นผงเล็ก ๆ และเศษสิ่งสกปรกทั้งหลายในอากาศ ที่เข้าไปในกระบอกสูบ ซึ่งเป็นห้องเผาไหม้ให้กำลังให้กับเครื่องยนต์


อ้างอิงรูป :

หม้อกรองอากาศ (Air Cleaner)


การดูแล “หม้อกรองอากาศ”

โดยปกติแล้วหม้อกรองอากาศจะไม่ค่อยได้รับความเสียหาย แต่ไส้กรองของหม้อกรองอากศ เมื่อใช้งานนาน ๆ ไปฝุ่นผงเล็ก ๆ และเศษสิ่งสกปรกจะติดอยู่ในไส้กรอง ทำให้อากาศไหลเข้าเครื่องยนต์ไม่สะดวก เช่นนั้น เราควรถอดไส้กรองออกมาเป่าฝุ่นทำความสะอาดบ่อย ๆ 

1.14) วาล์ว (Valve)

หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ลิ้น ทำหน้าที่เปิดให้ก๊าซเข้าสู่กระบอกสูบ และออกจากกระบอกสูบตามจังหวะการทำงานของเครื่องยนต์ นอกจากนี้เครื่องยนต์แบบ 2 จังหวะ จะใช้ช่องพอร์ที่ผนังกระบอกสูบ แทนการใช้วาล์วแบบกลไล


อ้างอิงรูป :

วาล์ว (Valve)


การดูแล “วาล์ว”

ปัญหาส่วนใหญ่ของวาล์ ก็คือวาล์วปิดไม่สนิท นั่นหมายถึงอาการวาล์วรั่ว อาการที่เราจะพอ คือ เครื่องยนต์ไม่มีกำลัง เครื่องยนต์เดินไม่เรียบ เครื่องสั่น เปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง เป็นต้น

1.15) หัวเทียน (spark plug)

ทำหน้าที่ให้ประกายไฟฟ้าในการจุดระเบิด เพื่อให้เกิดการเผาไหม้ไอเชื้อเพลิงผสมอากาศภายในกระบอกสูบ


อ้างอิงรูป :

หัวเทียน (spark plug)


การดูแล “หัวเทียน”

หมั่นตรวจดูสภาพการทำงานของเครื่องยนต์ในกรณีรถกระตุกอาจเกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เราควรถอดเอาหัวเทียนออกมาทำความสะอาด ใช้เครื่องมือถอดหัวเทียนออกมา แล้วตรวจดูสภาพของหัวเทียน ทั้งในเรื่องคราบเขม่าสกปรก และระยะห่างของเขี้ยวหัวเทียน ซึ่งแต่ละรุ่นจะมีระยะปรับตั้งที่บอกมาเป็นค่ามาตรฐาน ทำความสะอาดด้วยการใช้กระดาษทรายละเอียดขัด และล้างด้วยน้ำมัน เช็ดและเป่าให้แห้ง ทิ้งไว้จนแห้งสนิทแล้วจึงนำไปประกอบกลับคืน

1.16) แบริ่งก้านสูบ ( Connecting Rod Bearing)

แบริ่งก้านสูบจะทำจากทองแดงผสมตะกั่ว เรียกว่า เคลเมต (Kelmet) ที่ผิวหน้าของแบริ่งก้านสูบจะชุบดีบุก เพื่อให้สามารถสัมผัสกับเพลาข้อเหวี่ยงได้ดี แบริ่งก้านสูบสามารถแยกออกเป็น 2 ส่วนได้ คือ ส่วนที่อยู่กับก้านสูบ และส่วนที่ติดอยู่กับฝาประกับก้านสูบ บุชก้านสูบจะท าจากทองแดงผสมตะกั่วเช่นเดียวกับแบริ่งก้านสูบ ที่หน้าบุชจะชุบดีบุกเคลือบไว้ เพื่อช่วยให้ทนทานต่อแรงสั่นสะเทือน แรงกระแทก และความร้อนที่เกิดขึ้นขณะใช้งาน


อ้างอิงรูป :

แบริ่งก้านสูบ ( Connecting Rod Bearing)


การดูแล “แบริ่งก้านสูบ”

การดูแลแบริ่งก้านสูบนั้น เราไม่สามารถที่จะดูแลโดยตรงได้ เพราะแบริ่งก้านสูบอยู่ในห้องเครื่องยนต์ ดังนั้น การดูแลแบริ่งนั้น เราต้องดูน้ำมันหล่อลื่นให้ไม่ขาดจนมากกว่าไป และเปลี่ยนน้ำมันเครื่องตามระยะการใช้งาน

1.17) หัวฉีด (Fuel Injection)

คือ ส่วนประกอบหนึ่งในเครื่องยนต์ซึ่งทำหน้าที่จ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าไปยังห้องเผาไหม้ เพื่อง่ายต่อการจุดระเบิด สร้างกำลังได้เต็มที่และไม่เกิดตกค้างเป็นเขม่าสะสม

อ้างอิงรูป :

การดูแล “หัวฉีด”

ในระบบตัวของหัวฉีดจะมีน้ำมันเชื้อเพลิงแช่เพื่อรอฉีดและทำหน้าที่หล่อลื่นไปพร้อมกัน ในตัวน้ำมันเชื้อเพลิงนี่แหละมันคือสิ่งที่พกพาความสกปรกมาในระบบด้วย สิ่งสกปรกที่สะสมทำให้ทางเดินน้ำมันไม่สะดวก หรืออาจจะมีการอุดตันบางส่วนของรูหัวฉีด ทำให้น้ำมันที่ฉีดออกมาไม่ละเอียด นับวันมีการสะสมของเขม่าจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ด้วย จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการล้างหัวฉีดเชื้อเพลิง

วิดีโอประกอบ “ส่วนประกอบเครื่องยนต์เล็ก”



ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ ส่วนประกอบหน้าที่และการบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก…

หลกั สูตรชา่ งเกษตรทอ้ งถ่นิ ระดบั 1
เครื่องยนตเ์ ลก็ แก๊สโซลีน

โดย นายชัยยะ แซเ่ ฮง

วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งสุราษฎร์ธานี

เครื่องยนต์เล็กเป็นเครื่องยนต์ที่มีสูบเดียวขนาดไม่เกิน 10
แรงม้า มีชนิดแบบสูบตรง และชนิด แบบสูบเอียง เคร่ืองยนต์
เล็กท่ีมีขายอยู่ตามท้องตลาดโดยทั่วไปจะใช้งานเก่ียวกับด้าน
การเกษตรเป็น ส่วนใหญ่ เป็นเครื่องยนต์ที่นาเข้ามาผลิตใน
ประเทศไทย

ประเภทของเครือ่ งยนตเ์ ลก็

มีทั้งแบบใช้น้ามันเบนซิน ใช้น้ามันแก๊สโซฮอล์
ใช้น้ามันดีเซล เป็นเช้ือเพลิง เครื่องยนต์เล็กมี
หลายยีห่ อ้ เชน่ ฮอนดา้ คูโบต้า ยนั ม่าร

สว่ นประกอบหลกั ของเครื่องยนต์เลก็ แกส๊ โซลีน

เสื้อสูบ (Cylinder Block) เส้ือสูบเป็นที่อยู่
ของปลอกสูบ เพลาข้อเหวี่ยง ลูกสูบ ก้านสูบ
และระบบต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เส้ือสูบทาจาก
เหล็กหล่อเนื้อกราไฟต์เกร็ด ภายในเสื้อสูบจะทา
เป็น ช่องทางเดินของน้าหล่อเย็นและห้องเพลา
ข้อเหวี่ยง ส่วนบนเส้ือสูบจะเป็นที่ติดต้ังหม้อน้า
และถังน้ามัน เชอื้ เพลงิ

สว่ นประกอบหลกั ของเครื่องยนตเ์ ลก็ แกส๊ โซลีน

ลูกสูบ (Piston) ลูกสูบทาหน้าท่ีส่งถ่ายกาลังไป
ยังเพลาข้อเหว่ียง ลูกสูบจะรับแรงอัด ทาง
ด้านข้าง เน่ืองจากมุมโล้ของก้านสูบ ลูกสูบจะ
ปิดก้ันภายในกระบอกสูบกับห้องข้อเหวี่ยง แล้ว
ถ่ายเทความร้อนจากหัวลูกสูบไปยังช้ินส่วนอื่น
ตั ว ลู ก สู บ จ ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ร ะ บ า ย ค ว า ม ร้ อ น ด้ ว ย
น้ามันเครื่อง วัสดุที่ใช้ในการทาลูกสูบส่วนมาก
จะทามาจากเหล็กหล่อ อลูมิเนียมหล่อ หรือ
อลูมิเนียมอัด ข้ึนรูป นอกจากนั้นยังมีพวก
เหลก็ กลา้ หลอ่ และเหล็กกล้าอัดขน้ึ รปู

สว่ นประกอบหลกั ของเครื่องยนต์เลก็ แก๊สโซลีน

แหวนลูกสูบ (Piston Ring) แหวนลูกสูบแบ่ง
อ อ ก เ ป็ น แ ห ว น อั ด แ ล ะ แ ห ว น น้ า มั น ส า ห รั บ
เคร่ืองยนต์ดีเซลจะมีแหวนอัดอยู่ 2-3 ตัว ซ่ึงจะ
อยทู่ างดา้ นบนของลูกสูบ และแหวนน้ามันจะอยู่
ทางด้านกระโปรงลกู สูบ

สว่ นประกอบหลกั ของเครื่องยนตเ์ ลก็ แก๊สโซลีน

ฝาสูบ (Cylinder Head) เป็นส่วนที่อย่ดู ้านบน
ของเรอื นสูบของเคร่ืองยนต์ ฝาสูบเป็น ส่วนท่ีทา
ให้เกิดห้องเผาไหม้ด้วย ฝาสูบถูกขันยึดติดกับ
เรือนสูบด้วยน็อต โดยมีปะเก็นฝาสูบคั่นอยู่ตรง
กลาง เพื่อป้องกันก๊าซออกจากห้องเผาไหม้และ
น้าร่ัวเขา้ ไปในหอ้ งเผาไหม้

สว่ นประกอบหลักของเครือ่ งยนต์เลก็ แกส๊ โซลีน

ลิ้น (Valve) ลิ้นของเครื่องยนต์ทาหน้าท่ีเปิด
และปิดช่องไอดีและไอเสีย เพ่ือควบคุมการ
บรรจุไอดีและขับไล่ก๊าซไอเสียของเครื่องยนต์
4 จังหวะ ลิ้นมชี อ่ื เรียกตามการทางาน

สว่ นประกอบหลกั ของเครือ่ งยนตเ์ ลก็ แกส๊ โซลีน

ก้านสูบ (Connecting Rod)เชื่อมต่อระหว่าง
เพลาข้อเหวี่ยงกับลูกสูบ และยังทาหน้าท่ีเป็นตัว
ส่งถ่ายกาลังที่เกิดจากการเผาไหม้ ภายใน
กระบอกสูบส่งต่อไปให้กับเพลาข้อเหวี่ยง และจะ
รับแรงขับจากเพลาข้อเหวี่ยงไปทาให้ลูกสูบเกิด
การเคลื่อนที่ข้ึนลงตามจังหวะการหมุนของเพลา
ข้อเหวี่ยง และยังเป็นทางผ่าน ของน้ามัน
เครื่องชว่ ยใน

สว่ นประกอบหลกั ของเครือ่ งยนตเ์ ล็กแกส๊ โซลีน

เพลาข้อเหวี่ยง ( Crankshaft) เพลาข้อ
เหวย่ี งจะเป็นตัวรับและถ่ายทอดกาลัง และ
ยังเป็นตัวทาหน้าท่ีเปลี่ยนทิศทางการ
เคลอื่ นทข่ี ึ้นลงของลูกสูบและก้านสูบ เพลา
ข้อเหวี่ยงต้องทนต่อแรง กระแทกและ
แรงบิดที่เกิดขึ้นสูงได้จึงต้องทาด้วยเหล็ก
คาร์บอนตีอัดขึ้นรูป แล้วนามาแปรรูปผิว
เพลา

สว่ นประกอบหลกั ของเครื่องยนต์เลก็ แกส๊ โซลีน

เพลาลูกเบ้ียว ( Camshaft) เพลาลูกเบ้ียว
มหี น้าทท่ี าใหล้ ิ้นเปดิ และปิดได้ตามจังหวะ
การทางานของเคร่ืองยนต์ เพลาลูกเบี้ยวจะ
ทาจากเหล็กกล้าตีข้ึนรูป แล้วแปรรูปผิว
สว่ น…

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ เครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีน – Flip eBook Pages 1-20…

คลิปที่ 1 ชิ้นส่วนการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

(ขอขอบคุณที่มาของคลิปจาก gifshop.com)



ชิ้นส่วนเครื่องยนต์

ฝาครอบลิ้นหรือฝาครอบฝาสูบ

Cylinder  head cover

จานจ่าย

Distributor

ฝาสูบ

Cylinder  head

ลิ้น

Valve

ลูกสูบ

Piston

ท่อร่วมไอเสีย

Exhaust  manifold

เสื้อสูบ

Cylinder  block

เพลาข้อเหวี่ยง

Crankshaft

ปั๊มน้ำมันเครื่อง

Oil  pump

อ่างน้ำมันเครื่อง

Oil  pan

พูลเลย์เพลาข้อเหวี่ยง

Crankshaft  pulley

ก้านสูบ

Connecting  rod

สายพานไทมิ่ง

Timing  belt

ปั๊มน้ำ

Water  pump

เพลาลูกเบี้ยว

Camshaft

โซไทมิ่ง

Timing  chain

กระเดื่องกดลิ้น

Rocker  arm

ก้านส่งลิ้น

Push  rod

ลูกกระทุ้งลิ้น

Valve  lifter or Tappet

เฟืองไทมิ่ง

Timing  gear

หัวเทียน

Spark  plug

แผ่นชิม

Adjusting  shim

แหวนรองลิ้น

Valve  retainer

ลูกถ้วยยกลิ้น

Valve  lifter

สปริงลิ้น

Valve  spring

ลิ้น ไอเสีย

Exhaust  valve

บูชปลอกนำลิ้น

Valve  guide  bushing

ปะเก็น

Gasket

ช่องทางน้ำ

Water  jacket

สลักลูกสูบ

Piston  pin

แหวนกวาดน้ำมัน

Oil  ring

แหวนอัด

Compression  ring

ห้องเผาไหม้

Combustion chamber

บ่าลิ้น

Valve  seat

หมวกลิ้น

Oil  seal

ลิ้นไอดี

Intake  valve

ประกับลิ้น

Valve  keepers

คลิปที่ 1 ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

(ขอขอบคุณที่มาของคลิปจากบางส่วนของไฟล์ภาพเคลื่อนไหวรักษาหน้าจอของ Deutz Engine)

คลิปที่ 2 ชิ้นส่วนการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

(ขอขอบคุณที่มาของคลิปจาก gifshop.com)

คลิปที่ 3 ช้ินส่วนการทำงานของเครื่องยนต์

(ขอขอบคุณที่มาของคลิปจาก Samarins.com)

ดูขำขำ คลายความเครียด

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์…

ดูข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อด้วย %%% title %%% คุณสามารถค้นหาหัวข้อเกี่ยวกับรถยนต์เพิ่มเติมได้ที่นี่ เช่น ข่าวรถยนต์ล่าสุด

ดังนั้นเราจึงได้อัปเดตข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเกี่ยวกับ ส่วนประกอบ เครื่องยนต์ เล็ก แก๊ส โซ ลี น ในช่วงเวลาที่ผ่านมา หวังว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ คุณ

ขอบคุณที่รับชมครับ กรุณาเยี่ยมชมบ่อยสำหรับการปรับปรุงเพิ่มเติม! โปรดกดไลค์ กดแชร์ แสดงความคิดเห็นด้านล่างเพื่อแจ้งให้เราทราบว่าคุณต้องการอะไร!

โครงสร้างของเครื่องยนต์แก๊สโซลีนมีลักษณะอย่างไร

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน จะต้องประกอบไปด้วยชิ้นส่วนต่าง ๆ ามารวมกัน จึงจะสามารถมาเป็น เครื่องยนต์ได้ เราสามารถแยกชิ้นส่วนออกเป็น 2 ชิ้น คือ ชิ้นส่วนที่อยู่กับที่ ได้แก่ เสื้อสูบ ,ฝาสูบ กระบอกสูบ ฯลฯ และชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ ได้แก่ ลูกสูบ ,แหวนลูกสูบ ,เพลาข้อเหวี่ยง ,เพลาลูกเบี้ยว ฯลฯ ชิ้นส่วนทั้งสองส่วนนี้ จะต้องท างาน ...

โครงสร้างของเครื่องยนต์เล็กดีเซลเป็นแบบใด

โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล จะต้องมีความแข็งแรง เพื่อให้ทนต่อการจุดระเบิดอย่างรุนแรงภายในกระบอกสูบ ดังนั้นโครงสร้างจึงมักทำด้วยเหล็กหล่อเนื้อแกรไฟต์ โครงสร้างแบบที่ใช้กันมากจะเป็นแบบสูบเรียง มีการทำงานหรือกลวัตรของเครื่องยนต์เป็น 4 จังหวะ คือ จังหวะดูด อัด ระเบิด คาย ใน 1 กลวัตร เครื่องยนต์จะต้องหมุน 2 รอบ ส่วน ...

คุณสมบัติของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน...คืออะไร

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน, เครื่องยนต์สันดาปภายในชนิดหนึ่งซึ่งทำงานได้โดยใช้ประกายไฟฟ้าจากหัวเทียนจุดระเบิดเชื้อเพลิงในกระบอกสูบ ซึ่งจะดันลูกสูบให้เคลื่อนที่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] spark plug.

โครงสร้างองค์ประกอบเครื่องยนต์มีอะไรบ้าง

ส่วนประกอบต่างๆของเครื่องยนต์.
1. ฝาสูบ (Cylinder Head) หรือ (Valve Seat) ... .
2. ปลอกก้านวาล์ว (Valve Guide) ... .
3. ซีลก้านวาล์ว (Valve Seal) ... .
4. เสื้อสูบ (Valve Seal) ... .
5. อ่างน้ำมันเครื่อง (Crank Case) ... .
6. กระบอกสูบ (Cylinder) ... .
7. ลูกสูบ (Piston) ... .
8. ก้านสูบ (Connecting Rod).