ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด


[186] �ѧ���ѵ�� 4 (��������ͧ�ִ�˹���� ����ִ�˹����㨺ؤ�� ��л���ҹ���誹�������Ѥ��, ��ѡ���ʧ������ - bases of sympathy; acts of doing favors; principles of service; virtues making for group integration and leadership)
�������1. �ҹ (������ ��� ��������������� ������� �觻ѹ ��������͡ѹ������觢ͧ��ʹ�֧�������������й�����͹ - giving; generosity; charity)
�������2. ����Ҩ� ���� ����Ѫ�� (�Ҩ��繷���ѡ �ҨҴٴ�������� �����ҨҫҺ���� ��͡���Ǥ����Ҿ�������͹��ҹ��ҹ���Ѥ�� ����Դ�������Ф����ѡ���Ѻ��� ��ʹ�֧���ʴ�����ª���Сͺ�����˵ؼ�����ѡ�ҹ�٧������������� - kindly speech; convincing speech)
�������3. �ѵ������ (��û�оĵԻ���ª�� ��� �ǹ���ª�������͡Ԩ��� �����Ҹ�ó����ª�� ��ʹ�֧������䢻�Ѻ��ا�������㹷ҧ���¸��� - useful conduct; rendering services; life of service; doing good)
�������4. ��ҹѵ��� (�����յ����� ��� �ӵ����ʹ��»��� ��Ժѵ��������͡ѹ㹪�������� ���������آ�ء���������Ѻ���������� ��ʹ�֧�ҧ���������ҹ� ���� �ؤ�� �˵ء�ó��������Ǵ���� �١��ͧ�����������Сó� - even and equal treatment; equality consisting in impartiality, participation and behaving oneself properly in all circumstances)
----------------------------------------------
㹻�ó�����ѹʡĵ�ͧ����ҹ� �� ��ҹ��ڶ�� = ����: ��ҹ�ڶ�� ����� �����繼���ըش���������ѹ ���ͤ����ӹ֧����ª���ѹ�����ѹ (having common aims; feeling of common good)
���Ź���͵������šѹ����� ������͸Ժ��㹤������ ��Ҩ������ '�����յ�����' (participation) ��੾�������������آ�����ء��

��������� [11] �ҹ 2; [229] ��� 4.

���ҹء���ط���ʵ�� ��Ѻ�����Ÿ��� �������駷�� �� �.�. ����
http://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=186

        กล่าวโดยสรุป สังคหวัตถุ 4 คือ หลักธรรมของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ซึ่งได้แก่ ทาน คือการให้ ทั้งทานที่ให้เป็นบุญ และทานที่ให้เป็นคุณ ปิยวาจา คือการพูดวาจาที่ไพเราะ ฟังแล้วเกิดความชื่นใจ อัตถจริยา คือทำตนให้เป็นประโยชน์ แก่ผู้อื่นที่อยู่ร่วมกันในสังคม สมานัตตตา คือวางตนให้เหมาะสมว่าตอนนี้เราอยู่ในฐานะใด หลักธรรม 4 ประการนี้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจผู้คนในสังคมให้อยู่กันอย่างสันติสืบต่อไป

1. �ҹ ��� ������ ���������� ���͡������������觻ѹ�ͧ浹���ͻ���ª����ؤ����� �����˹�����˹��� ����繤��������������� �س������͹��Ъ����������繤������ ���������� ��Ҥ�äӹ֧����������� ��Ѿ����觢ͧ������������ ������觨��ѧ����׹ ����������鹪��Ե����ǡ��������ö�йӵԴ���������

2. ����Ҩ� ��� ��þٴ�Ҵ��¶��¤ӷ���������͹��ҹ �ٴ���¤�����ԧ� ���ٴ��Һ��¡������� �ٴ���觷���繻���ª�����������Ѻ������ ��оط���ҷç�������Ӥѭ�Ѻ��þٴ�����ҧ��� ������þٴ�繺ѹ䴢���á�������ҧ����������ѹ���ѹ������Դ��� �Ըա�÷��оٴ����繻���Ҩҹ�� �е�ͧ�ٴ���ִ�����ѡࡳ��
�ѧ���仹��

��鹨ҡ��þٴ��
��鹨ҡ��þٴ������´
��鹨ҡ��þٴ����Һ
��鹨ҡ��þٴ������

3. �ѵ������ ��� ���ʧ������ء��Դ���͡�û�оĵ����觷���繻���ª���������

4. ��ҹѵ�� ��� ����繼���դ����������� �����դ�����оĵ����͵����ͻ��� �س������͹��Ъ����������繤��ըԵ�˹ѡ��������� �������ѧ�繡�����ҧ�������� �������ҧ������������ա����

สังคหวัตถุ 4 หมายถึง ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน ประกอบด้วย ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เว็ปติวฟรีได้รวบรวมสรุปสังคหวัตถุ 4 พร้อมความหมายของแต่ละประการ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ศึกษาพระธรรมได้ด้วยความสะดวกสบาย

สังคหวัตถุ 4 คือธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน

สังคหวัตถุ แปลว่า ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน, หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้, วิธีทำให้คนรัก, หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน เหมือนลิ่มสลักรถที่ตรึงตัวรถไว้มิให้ชิ้นส่วนกระจายไป ทำให้รถแล่นไปได้ตามที่ต้องการ

ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด

สังคหวัตถุมีสี่ประการ คือ

ทานการให้ การเสียสละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนอื่น ช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว แบ่งปันกัน (แบ่งปันไปมา)ปิยวาจาการพูดจาด้วยถ้อยคำไพเราะอ่อนหวาน จริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เหมาะกับกาลเทศะ พูดดีต่อกัน (พูดจาจับใจ)อัตถจริยาช่วยเหลือกัน (ช่วยกิจกันไป)สมานัตตตาการเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย วางตัวดีต่อกัน (นิสัยเป็นกันเอง)

1.ทาน

ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
การให้ทาน

ทาน คือ การให้ การเสียสละ หรือการเอื้อเฟื้อแบ่งปันของๆตนเพื่อประโยชน์แก่บุคคลอื่น ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่เป็นคนเห็นแก่ได้ฝ่ายเดียว คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้ไม่เป็นคนละโมบ ไม่เห็นแก่ตัว

ทาน แปลว่า การให้ คือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ แบ่งปัน ช่วยเหลือกันด้วยสิ่งของตลอดถึงให้ความรู้และแนะนำสั่งสอน


2.ปิยวาจา

ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
พูดจาดี

ปิยวาจา หรือ เปยยวัชชะ แปลว่า วาจาเป็นที่รัก วาจาดูดดื่มน้ำใจ หรือวาจาซาบซึ้งใจ คือกล่าวคำสุภาพไพเราะอ่อนหวานสมานสามัคคี ให้เกิดไมตรีและความรักใคร่นับถือ ตลอดถึงคำแสดงประโยชน์ประกอบด้วยเหตุผลเป็นหลักฐานจูงใจให้นิยมยอมตาม

ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวาน พูดด้วยความจริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมาะสำหรับกาลเทศะ พระพุทธเจ้าทรงให้ความสำคัญกับการพูดเป็นอย่างยิ่ง เพราะการพูดเป็นบันไดขั้นแรกที่จะสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้น วิธีการที่จะพูดให้เป็นปิยวาจานั้น จะต้องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้

  • เว้นจากการพูดเท็จ
  • เว้นจากการพูดส่อเสียด
  • เว้นจากการพูดคำหยาบ
  • เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ

3.อัตถจริยา

ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
ทำบุญสงเคราะห์บ้านเด็กกำพร้า

อัตถจริยา คือ การสงเคราะห์ทุกชนิดหรือการประพฤติในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น

อัตถจริยา แปลว่า การประพฤติประโยชน์ คือ ขวนขวายช่วยเหลือกิจการ บำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ตลอดถึงช่วยแก้ไขปรับปรุงส่งเสริมในทางจริยธรรม


4.สมานัตตา

ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา เป็นหลักธรรมข้อใด
มีความสม่ำเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย

สมานัตตา แปลว่า ความมีตนเสมอ ทำตนเสมอด้วยปลาย ปฏิบัติสม่ำเสมอกันในชนทั้งหลาย และเสมอในสุขทุกข์โดยร่วมรับรู้ร่วมแก้ไข ตลอดถึงวางตนเหมาะแก่ฐานะ ภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามธรรมในแต่ละกรณี

สมานัตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ หรือมีความประพฤติเสมอต้นเสมอปลาย คุณธรรมข้อนี้จะช่วยให้เราเป็นคนมีจิตใจหนักแน่นไม่โลเล รวมทั้งยังเป็นการสร้างความนิยม และไว้วางใจให้แก่ผู้อื่นอีกด้วย


ความหมายสังคหวัตถุ 4 จากท่านผู้รู้ต่างๆ

สังคหวัตถุ 4 เป็นธรรมอันเป็นเครื่องช่วยเหลือกัน เป็นการผูกมิตร วิธีที่จะผูกมิตรนั้น ต้องมีสิ่งที่ช่วยยึดเหนี่ยว และประสานน้ำใจกันไว้ให้ต่างคนต่างมีความรักใคร่นิยมชมชอบซึ่งกันและกัน

อารี

สังคหวัตถุ 4 เป็นหลักธรรมพื้นฐานที่แสดงพฤติกรรมออกมาโดยคำนึงถึงการช่วยเหลือผู้อื่น และการทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม

พระศรีปริยัติโมลี

สังคหวัตถุ 4 เป็นพฤติกรรมที่เอื้อต่อสังคมโดยใช้หลักธรรมพื้นฐานที่แสดงออกมาโดยคำนึงถึงการช่วยเหลือผู้อื่น และการกระทำ ประโยชน์ให้กับส่วนรวมที่เรียกว่า สังคหวัตถุ 4

ปฏิมากร

สังคหวัตถุ 4 เป็นหลักธรรมที่ใช้ยึดเหนี่ยวจิตใจบุคคลให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข สามารถใช้เป็นวิธีการในการดำเนินชีวิตภายใต้ความรับผิดชอบในสังคมทั้งในระดับบุคคล และธุรกิจองค์กรโดยมีความสอดคล้องกับบริบทของสังคมภายใต้พื้นฐานการสงเคราะห์เกื้อกูลซึ่งกันและกัน

ทานปิยวาจาอัตถจริยาสมานัตตตาคือสิ่งใด

หลักสังคหวัตถุ 4 ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็นหลักธรรมที่เป็น เครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจของกันและกัน ได้แก่ 1) ทาน คือ การให้ การเสียสละ และการแบ่งปัน 2) ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวาน 3) อัตถจริยา คือ การสงเคราะห์เพื่อ ประโยชน์ผู้อื่น 4) สมานัตตตา คือ การเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ

ปิยวาจา อยู่ในหลักธรรมข้อใด

ปิยวาจา ในสังคหวัตถุ 4 คือ การใช้วาจาด้วยถ้อยคำที่สุภาพ และถ้อยคำที่มีประโยชน์ พูดด้วยถ้อยคำที่เป็นจริง และถ้อยคำที่ไม่กระทบกระทั่งผู้อื่น พูดแต่ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ รู้จักกล่าวขอโทษ รู้จักกล่าวขอบคุณ ซึ่งผู้ปฏิบัติได้ย่อมทำให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในตัวผู้พูดจูงให้ละเว้นความชั่ว ทำให้การงานสำเร็จ เป็นประโยชน์ในการ ...

สังคหวัตถุ ประกอบด้วยหลักธรรมอะไรบ้าง

หลักสังคหวัตถุ 4 มีดังนี้ 1. ทาน คือการให้ได้แก่การเสียสละการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การแบ่งปันช่วยเหลือกันด้วยสิ่งของตลอดจนให้ความรู้แนะนำสั่งสอนการให้ทานให้เพื่อขจัด กิเลสลดความเห็นแก่ตัวด้วยการให้ทาน 2. ปิยวาจา ได้แก่ การพูดคำสุภาพ อ่อนหวาน เพื่อให้เกิดความสมานสามัคคี ปิยวาจาทำได้ง่าย เพราะวาจานั้นมีในตัวเรา เพียงเรามี ...

ปิยวาจา มีอะไรบ้าง

2. ปิยวาจา คือ การพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะอ่อนหวาน พูดด้วยความจริงใจ ไม่พูดหยาบคายก้าวร้าว พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมาะสำหรับกาลเทศะ พระพุทธเจ้าทรงให้ความสำคัญกับการพูดเป็นอย่างยิ่ง เพราะการพูดเป็นบันไดขั้นแรกที่จะสร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้น วิธีการที่จะพูดให้เป็นปิยวาจานั้น จะต้องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์