หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

��ѡ����㹡�����������ѹ���ҧ�ѹ��

��ѡ����㹾�оط���ʹ�

�š��Ÿ��� ��� ���������Ѻ������ͧ�š ������ 2 ���ҧ���¡ѹ���

1. ���� ���¶֧ �����������㨵�͡�÷��зӤ�������

2. �͵�ѻ�� ���¶֧ �����ç���ǵ�ͺһ ������Ҥ������Ǩз�����Դ�����µ�͵��ͧ

������

�ѻ����ʸ��� ���¶֧ ��ѡ�����ͧ������ѧ�� �� 7 ��С�� ���

1. ����ѭ�ص� ���ѡ�˵� ���ѡ��ѡࡳ��

2. �ѵ�ѭ�ص� ���ѡ�� ���ѡ�����������

3. �ѵ�ѭ�ص� ���ѡ�� ���ѡ��ҵ��ա��ѧ�ҹ����ҧ��

4. �ѵ�ѭ�ص� ���ѡ�����ʹ� ���ѡ����ҳ

5. ���ѭ�ص� ���ѡ���ҷ���������

6. ����ѭ�ص� ���ѡ����� ���ѡ��þ�ʶҹ���

7. �ؤ��ѭ�ص� ���ѡ�ؤ�� ���ѡ������Ф�ᵡ��ҧ�ѹ���ҧ��

�Ԯ�����ԡѵ�����ª�� ���¶֧ ��ѡ����������������Դ����ª����㹻Ѩ�غѹ ����

1. �خ�ҹ������ ���¶֧ �դ�����ѹ�������� ��ǧ�ҷ�Ѿ��

2. ���ѡ������� ���¶֧ ������ѡ�ѡ�� �������ǧ�ҷ�Ѿ�������ͧ�ѡ��

3. ����ҳ�Ե�� ���¶֧ ���ѡ������

4. �����Ե� ���¶֧ ���ѡ����Ե���ҧ��������������������������� ���͵��˹�����˹����Թ�

�ѧ���ѵ�� ���¶֧ ����з��Ъ�����������͡�šѹ�����ҧ����ѧ�� ����

1. �ҹ ���¶֧ ������ ��ú�ԨҤ

2. ����Ҩ� ���¶֧ ��þٴ���¤������ö�Ҵ� ��ԧ�

3. �ѵ������ ���¶֧ ��оĵԵ�����繻���ª�����ѧ��

4. ��ҹѵ��� ���¶֧ ����ҧ�����͵����ͻ��� ������Դ�ѭ�ҵ����ǹ��� ���ͧ�����ѹ��ѭ��

สังคหวัตถุ 4 

หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

สังคหวัตถุ 4 : หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

        ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน  ปิยวาจา  อัตถจริยา  และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้

หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

ทานในที่นี้มี 2 ประการก็คือ ทานที่ให้เป็นบุญ และทานที่ให้เป็นคุณ

     1.ทาน คือการให้เราจะเห็นว่าหลักธรรมหลายข้อของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะขึ้นต้นด้วย “ทาน” เพราะเราทุกคนล้วนมีกิเลส ซึ่งกิเลสตัวแรกที่มักจะเจอคือ ความอยากได้ เมื่ออยากได้ก็เกิดความไม่อยากให้ ดังนั้น ทานจึงมักอยู่เป็นข้อเบื้องต้นในหลักธรรมต่างๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องกับการอยู่ร่วมกัน ทานในที่นี้มี 2 ประการก็คือ ทานที่ให้เป็นบุญ และทานที่ให้เป็นคุณ

                ทานที่ให้เป็นบุญ ได้แก่ การสร้างกุศล บำเพ็ญบุญทั้งหลาย เช่น ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เป็นต้น

                ทานที่ให้เป็นคุณ ได้แก่ การให้สิ่งของการให้ของขวัญ เป็นต้น

        ในเรื่องของบุญกุศล ถ้าเป็นการทอดกฐินถือเป็นการให้แบบ จาคะ แต่ถ้าความมุ่งหมายแบบสังคหวัตถุ 4 เรามุ่งที่การให้แบบที่ 2 คือให้เพื่อเป็นคุณ เพราะมนุษย์ส่วนใหญ่มักขาดแคลน เมื่อเราไปช่วยเขา ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อกันขึ้นม

หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

พูดแต่เรื่องที่ดี สิ่งที่ดี เบิกบานใจ

        2. ปิยวาจา การพูดวาจาที่ไพเราะ ฟังแล้วเกิดความชื่นใจ เบิกบานใจ เช่นเราศึกษาธรรมะได้ข้อคิดดีๆ ก็นำสิ่งเหล่านี้ไปบอกคนที่เรารัก คนที่เรารู้จัก เป็นต้น สิ่งที่เราจะพูดนั้นต้องเป็นเรื่องจริง เป็นคำสุภาพ ไพเราะนิ่มนวล พูดออกไปแล้วเกิดประโยชน์ เวลาพูดก็ต้องพูดด้วยจิตที่มีเมตตา เช่นว่า ถ้าเราจะไปตักเตือนใคร เราก็เลือกคำอย่างดีไปบอกเขาไปบอกด้วยจิตที่เมตตาหวังดีต่อเขา  เช่นเดียวกัน เมื่อเขามาบอกหรือตักเตือนเรา เราก็ต้องทบทวนว่าเขาอยากบอกอะไรกับเรา และหากเป็นสิ่งที่ถูกต้องที่เราต้องปรับปรุงตัวให้ดีขึ้นเราก็ควรไปขอบคุณเขา ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า บุคคลที่มาแนะนำเราสิ่งที่เป็นประโยชน์ให้แก่เรา เมื่อเห็นเราผิดพลาด เรียกว่า “ผู้ชี้ขุมทรัพย์ให้”

หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

และสิ่งสุดท้ายที่ต้องพิจารณาในการพูดคือ ต้องเลือกเวลาในการพูด พูดให้ถูกกาลเทศะด้วย ถ้าจำเป็นต้องพูดในช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม เช่น เวลาที่ผู้ฟังกำลังอารมณ์ไม่ดี หรือกำลังยุ่งนั้น เราก็ต้องเลือกคำให้ดีที่สุด

หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม

        3. อัตถจริยา คือทำตนให้เป็นประโยชน์ บางครั้งในการทำงานอาจขาดกำลังแต่ถ้าเราช่วยกันงานที่ว่ายากก็จะสำเร็จลุล่วงไปได้ถ้าเราร่วมมือกัน เพราะฉะนั้นตรงนี้เป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้เราเกิดรักความผูกพันชองบุคคลที่อยู่ร่วมกันในสังคม ในการบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์มี 2 ประการ คือ ต้องทำตัวเราให้เป็นคนดี มีประโยชน์เสียก่อน และสร้างประโยชน์ให้คนอื่นรอบข้าง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสบุคคลไว้ 3 ประเภทคือ

1.อัตถจารีย์ ผู้ที่สร้างประโยชน์ ทั้งประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน บุคคลแบบนี้น่ายกย่อง น่าสรรเสริญ

2.โมฆะบุรุษ บุรุษผู้ว่างเปล่า ไม่เอาอะไรเลย เฉยๆ ไม่ทำทั้งสิ่งที่เป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์

3.อนัตถัตจารีย์ ผู้ทำสิ่งไม่ใช้ประโยชน์ ถ้าเป็นเรื่องไม่ดี พวกนี้ชอบทำ การอยู่ร่วมกันในสังคม ไม่ว่าเรื่องอะไรก็ตาม เราต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่แล้งน้ำใจจึงจะเกิดความสุขได้ในสังคมนั้นๆ

หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

        4. สมานัตตตา การวางตนให้พอดีในหน้าที่ของตนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย คือ วางตนให้เหมาะสมว่าตอนนี้เราอยู่ในฐานะอะไร เช่น พ่อก็มีหน้าที่เลี้ยงดูลูก แม่ก็มีหน้าที่ดูแลบ้านดูแลครอบครัว ลูกเองก็มีหน้าที่ศึกษาเล่าเรียน และเมื่อเราทำงาน ถ้ามีใครไม่ทำตามหน้าที่แล้ว ย่อมจะเกิดปัญหาเรื่องการก้าวก่ายหน้าที่กันตามมา จนอาจส่งผลให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตขึ้นได้ อย่างนี้เป็นต้น เมื่อเป็นเช่นนี้การวางตนให้เหมาะสม จะช่วยให้ไม่ต้องระวาดระแวงในการทำหน้าที่ของตน ซึ่งจะส่งผลให้เราอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปลอดภัยและสบายใจ

        กล่าวโดยสรุป สังคหวัตถุ 4 คือ หลักธรรมของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ซึ่งได้แก่ ทาน คือการให้ ทั้งทานที่ให้เป็นบุญ และทานที่ให้เป็นคุณ ปิยวาจา คือการพูดวาจาที่ไพเราะ ฟังแล้วเกิดความชื่นใจ อัตถจริยา คือทำตนให้เป็นประโยชน์ แก่ผู้อื่นที่อยู่ร่วมกันในสังคม สมานัตตตา คือวางตนให้เหมาะสมว่าตอนนี้เราอยู่ในฐานะใด หลักธรรม 4 ประการนี้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจผู้คนในสังคมให้อยู่กันอย่างสันติสืบต่อไป

หลักการอยู่ร่วมกับผู้อื่นคือหลักธรรมใด

หลักธรรมในข้อใดเน้นเรื่องการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

สังคหวัตถุ 4 คือ หลักธรรมของการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ได้แก่ การให้การแบ่งปัน การพูดจาแต่สิ่งดี ๆ การประพฤติตนเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น การวางตนให้เหมาะสม หลักธรรมทั้ง 4 ประการนี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจผู้คนใน สังคมให้อยู่กันอย่างสันติ

หลักธรรม 4 ประการ มี อะไร บ้าง

4 ประการ (พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตโต), 2549) อันประกอบด้วย 1. (ฉันทะ) ยินดี พอใจ ตั้งใจทำการงาน 2. (วิริยะ) เพียรพยายาม 3. (จิตตะ) ประกอบกิจการงานทุกอย่างด้วยความตั้งใจจริง 4. (วิมังสา) ปัญญา รู้รอบคอบ จะกระทำกิจการงานใดก็ตามควรทำด้วยความระมัดระวัง โยนิโส มนสิการ ใคร่ครวญให้ดี ให้รอบคอบ เช่นเดียวกับที่ สยาม ราช ...

หลักธรรมแห่งความสําเร็จเรียกว่าอะไร

หลัก อิทธิบาท 4 คือ ธรรมที่ทำให้เกิดความสำเร็จ ที่คนทำงานต้องมี ประกอบด้วย 1. ฉันทะ มีความพอใจ ใฝ่ที่จะกระทำสิ่งนั้นอยู่เสมอ ทำให้คนๆ นั้นดียิ่งๆ ขึ้นไป 2. วิริยะ มีความเพียร คนทำงานต้องขยันหมั่นเพียร ประกอบการงานอย่างเข้มแข็ง อดทน ไม่ท้อถอย ก็จะทำให้งาน ประสบความสำเร็จ

ข้อใดเป็นหลักธรรมในการครองเรือน

หลักฆราวาสธรรมเป็นธรรมส าหรับผู้ครอง เรือนที่พึงควรประพฤติปฏิบัติต่อกันและกันตั้งแต่ การด าเนินชีวิตหรือผู้มีคู่ครอง ตลอดทั้งการท างาน หลักธรรมทั้ง 4 คือ สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ หาก บุคคลใดไม่ว่าจะอยู่ในศาสนาใดๆ ก็ตามได้น าหลัก ฆราวาสธรรมไปประยุกต์ใช้หรือปฏิบัติต่อตนเอง ครอบครัวหรือสังคมแล้วจะน ามา ซึ่งความสุขต่อ ตนเองและ ...