ภารกิจหลักของยานขนส่งอวกาศคือข้อใด

...�ҹ�����ǡ��...
�ҹ�����ǡ��
�ҹ�����ǡ�Ȥ������
�ҹ�����ǡ�����ҹ�ǡ���������ش�ͧ���Ѱ � �ٻ��ҧ���������ͧ�Թ��Ҵ�˭� ������������� 185 �ص �ҹ�����ǡ��⤨��ǧ�ҧ⤨�������͹ŧ��鹴Թ������͹����ͧ�Թ����� �ҹ�����ǡ������ö�ӡ�Ѻ���������Թ�ҧ�������ǡ����Ѻ 100 ����ǺԹ �ҹ�����ǡ���������ö���Թ�ҧ��������������� ����繡����á�ͧ����Թ�ҧ�����ҧǧ�ҧ⤨áѺ����š�������ǹ�������ǡ���������ҧʶҹ��ǡ���ǧ⤨��ͺ�š ��觨����繷���ǡ��㹡���Թ�ҧ������ѧ������ʹ���ء��
�ѡ�Թ�ǡ�Ⱥ��ҹ�����ǡ�����͡�ʷӡ�÷��ͧ�ҧ�Է����ʵ���������ҧ �͡�ҡ����ҹ�����ǡ���ѧ��÷ء������� �� �������������â��任�����ǧ�ҧ⤨�
�ҹ�����ǡ�Ȣ�鹺Թ������á������
��ѹ��� 12 ����¹ 1981 �ҹ�����ǡ�� ������� ������ҹ�����ǡ�� �����������Ǻ���������á�ش���Թ�������ǡ�� ������� �����ǧ⤨��ͺ�š 2 �ѹ �ѡ�Թ�ǡ�ȷӡ�÷��ͧ�ҧ�Է����ʵ���������ҧ

����͹�����ҹ�����ǡ�Ⱥ��š�����ҧ��
�ҹ�����ǡ�Ȣ�Ҵ����Ҩ��繵�ͧ���˹Т�Ҵ�˭�㹡�â����� �ҹ�����ǡ�ȨТ����ѧ����ͧ�Թ����â�Ҵ�˭�����͹���¨ҡ�ҹ�Թ���˹����ѧ�ҹ�Թ�ա���˹��
�ҹ�����ǡ���ը�Ǵ�Ѻ�ѹ�������
�ҹ�����ǡ���ը�Ǵ�Ѻ�ѹ 2 �� �Դ�����ҧ�ѧ������ԧ�˭� ���ͪ��¢Ѻ�ѹ�����ش���ç�����ǧ ��Ǵ�Ѻ�ѹ��������Ǩж١��Ѵ��駵�ŧ������ط� ���ͨ�����Ҩ�Ǵ�Ѻ�ѹ��Ѻ�����������ԧ������й��Ѻ���������ǺԹ����
�ҹ�����ǡ�����ҹ���������ͧ¹���Ǵ��Ш�����ͧ������ͧ¹���Ǵ��Ш��ҹ����ҹ��������������蹡�������дѺ�����٧�ǧ�ҧ⤨� ��û�Ѻ��ȷҧ������㹡�ê��ͤ������� ����ͤ������Ǣͧ�ҹ�����ǡ��Ŵŧ �ç�����ǧ�ͧ�š�д֧�ҹ�����ǡ�ȡ�Ѻŧ������š

�ͧ�ҹ�����ǡ������������
�Ѻ������ 1981 �ա�����ҧ�ҹ�����ǡ�� 4 �� ��� ������� ���Ź���� ��ʤѿ������ ��� �͵�Ź��� �ҹ�����ǡ�Ȫ��Ź������ʺ�غѵ��˵����Դ��ҧ�ҡ�� �֧�ա�����ҧ�ҹ�����ǡ���͹ി����� ������ա��
�ȡ�ү�����ͧ�ҹ�����ǡ�Ȫ��Ź�����Դ���������
㹻� 1986 �ҹ�����ǡ�Ȫ��Ź�������Դ��ҧ�ҡ���������§������Թҷ���ѧ�ҡ���ҹ�ҡ��� �١���ͷ�������ª��Ե㹷ѹ�� ˹��㹨ӹǹ��鹤�� ���ʵ� ��硤��Կ�� � ����繤�٤��á�ͧ�š������Ѻ���͡���Թ�������ǡ��

�� : ��� ��Ѳ�� ǧ���Ѳ��Ԩ, �ç���¹�����Է�����, �ѹ��� 20 ��Ȩԡ�¹ 2544
กรมสรรพากร เตรียมจัดประเภทโทเคนดิจิทัล เพื่อลดอุปสรรคในการพัฒนาและทำให้การจัดเก็บภาษีมีความเป็นธรรมมากขึ้น โดยเร็วๆนี้จะออกหลักเกณฑ์บังคับใช้
.
นายลวรณ แสงสนิท อธิบดีกรมสรรพากรเปิดเผยว่า กรมสรรพากร เตรียมจัดประเภทโทเคนดิจิทัลเพื่อลดอุปสรรคในการพัฒนา และทำให้การจัดเก็บภาษีไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิตอลประเภทนี้
.
ทั้งนี้ เนื่องจากโทเคนฯบางประเภท อาจไม่จำเป็นต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจาก จัดอยู่ในประเภทสินทรัยย์ที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือบางประเภทไม่ต้องเสียภาษีเมื่อเทียบกับการลงทุนประเภทอื่นๆ
.
เขากล่าวว่า พ.ร.บ.สินทรัพย์ดิจิตอล ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ของไทย ซึ่งเรามองว่า โทเคนฯทุกเหรียญมีความเหมือนกัน แต่ความจริงแล้วเหรียญ มีหน้าที่หลายอย่าง เช่น เป็นลักษณะ Investment Token หรือเป็นUtility Token ดังนั้น โทเคนฯจึงไม่ได้มีแบบเดียว
.
ดังนั้น ในเร็วๆนี้กรมสรรพากรจะออกหลักเกณฑ์ในการแยกประเภทของโทเคนฯ โดยขึ้นอยู่กับว่า โทเคนฯประเภทนั้น จัดเข้าอยู่ในประเภทสินทรัพย์ใด เช่น หากเหรียญโทเคน มีการเทรดเหมือนหุ้น ก็จะเก็บภาษีเหมือนเป็นหุ้น หรือจัดเป็นประภทหุ้นกู้ก็จะจัดเก็บภาษีในฐานะหุ้นกู้ เป็นต้น
.
เขากล่าวว่า ปัจจุบัน เรามีความเข้าใจในโทเคนฯแต่ละประเภทมากพอสมควร อาจจะมีบางโทเคนฯเช่นUtility Token ที่เราอาจจะยังไม่มีความเข้าใจที่ชัดเจนว่ามันทำหน้าที่อะไร เนื่องจากมันสามารถทำหน้าที่ได้หลายอย่าง
.
ก่อนหน้านี้เมื่อเดือนมี.ค.ที่ผ่านมานี้ ครม.ได้เห็นชอบมาตรการภาษีคริปโตเคอเรนซี เพื่อช่วยมาตรการบรรเทาภาระภาษีสำหรับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล
.
โดยยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มในการทำธุรกรรมคริปโตเคอร์เรนซีบนตลาดซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และการโอนสกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารแห่งประเทศไทย (CBDC) ตามโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงิน และการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล รวมไปถึง การอนุญาตให้หักผลขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ดิจิทัลบนแพลตฟอร์มแลกเปลี่ยนออกจากกำไรการขายสินทรัพย์ดิจิทัลด้วยเช่นเดียวกัน ตั้งเม.ย.ปีนี้จนถึงสิ้นปี 2566
.
จากข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในอดีตที่ผ่านมาได้มีการนำสินทรัพย์ดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือในการระดมทุนจากประชาชน และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน รวมถึงนำมาซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนในศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล แต่ยังไม่มีกฎหมายที่กำกับดูแลการดำเนินการดังกล่าวในประเทศไทย ทำให้มีการประกอบธุรกิจหรือการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่อาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเงิน ระบบเศรษฐกิจของประเทศ และอาจเกิดผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง
.
ดังน้ัน เพื่อให้มีการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจและการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล และรองรับการนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืนอันจะเป็นการสนับสนุนและอำนวยความสะดวกให้กิจการที่มีศักยภาพมีเครื่องมือในการระดมทุนที่หลากหลายประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลที่ชัดเจนเพียงพอเพื่อประกอบการตัดสินใจเกิดความโปร่งใส และป้องกันมิให้มีการนำสินทรัพย์ดิจิทัลที่ไม่มีแหล่งที่มาที่ชัดเจนไปใช้ประโยชน์หรือกระทำการหลอกลวงประชาชนหรือประกอบอาชญากรรม ตลอดจนมีกลไกในการดูแลรักษาเสถียรภาพทางการเงินและระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ จึงได้มีการตราพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ปี 2018 ขึ้น
.
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำกับดูแลการระดมทุนต่อประชาชนผ่านการเสนอขายโทเคนดิจิทัล การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลและการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล โดยมีผลบังคับใช้เมื่อเดือนพ.ค.2561
.
สาระสำคัญของกฎหมาย พ.ร.ก. สินทรัพย์ดิจิทัลฯ กำหนดหลักเกณฑ์การกำกับดูแลการระดมทุนต่อประชาชนผ่านการเสนอขาย โทเคนดิจิทัล การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลและการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล ประเภทของสินทรัพย์ดิจิทัล สินทรัพย์ดิจิทัล (digital asset) ที่อยู่ภายใต้บังคับของพระราชกำหนดนี้ได้แก่คริปโทเคอร์เรนซีและ โทเคนดิจิทัล ซึ่งมีลักษณะดงัต่อไปนี้
.
อ่านต่อ: https://www.bangkokbiznews.com/finance/investment/1042512?anm=
.
.
#สินทรัพย์ดิจิทัล #กรมสรรพากร #โทเคนดิจิทัล #ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล
#กรุงเทพธุรกิจ #กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ #กรุงเทพธุรกิจCrypto
-------------------------------
ติดตาม "กรุงเทพธุรกิจ" ผ่านช่องทางต่างๆ ได้ที่
Line: https://line.me/R/ti/p/@rvb8351i
Twitter: https://twitter.com/ktnewsonline
Website: http://www.bangkokbiznews.com
Youtube: https://www.youtube.com/user/KrungthepTurakij
Blockdit: https://www.blockdit.com/bangkokbiznews
Instagram: https://www.instagram.com/bangkokbiznews
Tiktok: https://www.tiktok.com/@bangkokbiznews
Soundcloud: https://soundcloud.com/bangkokbiznews
Spotify: https://qrgo.page.link/CHpWR

 

Dec 13, 2022 ยูนิคอร์นน่วม! 3 ยักษ์สตาร์ทอัพระดับยูนิคอร์นอาเซียนสูญมูลค่ากว่า 1.8 ล้านล้านบาทในปีนี้
.
สถานการณ์ธุรกิจสตาร์ทอัพยักษ์ใหญ่ของอาเซียน ซึ่งถูกจัดชั้นขนาดธุรกิจจากมูลค่าเงินลงทุนของนักลงทุนในระดับยูนิคอร์น ล้วนตกอยู่ในสภาวะย่ำแย่นับตั้งแต่เริ่มเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ หรือกว่า 1 ปีครึ่งผ่านมาจนถึงปัจจุบัน เริ่มจากแกร็บ (Grab) ยักษ์ธุรกิจร่วมเดินทางและบริการจัดส่งอาหาร เครื่องดื่ม พัสดุภัณฑ์ มีมูลค่าบริษัทหดหายมากถึง -70% ของมูลค่าบริษัททั้งหมด ในอดีตผ่านมา แกร็บได้รับการจัดให้เป็นบริษัทที่ทรงคุณค่ามากที่สุดในอาเซียนจากการอาศัยช่องทางครวบรวมกิจการกับบริษัทอัลติเมเตอร์ โกรธ คอร์ปอเรชั่น นอกจากนี้ ยังได้รับเงินลงทุนจากนักลงทุนชื่อดัง เช่น แบล็คร๊อค อินคอร์ปอเรชั่น ฟิเดลลิตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล และ ที โรว์ ไพรซ์ กรุ๊ป อินคอร์ปอเรชั่น รวมเป็นเงินลงทุนมากถึง 4,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 142,000 ล้านบาท
.
บริษัทสตาร์ทอัพอีก 2 ราย ได้แก่ พีที โกทู (GoTo) ซึ่งเป็นหุ้นไอพีโอที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอาเซียนปีนี้ และ บูคาลาพาดอทคอม (Bukalapa) มีมูลค่าบริษัทดำดิ่งมากถึง -74% และ -69% ตามลำดับ
.
สำหรับมูลค่าบริษัทสตาร์ทอัพชื่อดังในอาเซียนที่ได้รับเงินลงทุนสูงเข้าขั้นระดับยูนิคอร์น ซึ่งต้องสูญเสียมูลค่าบริษัทภายในห้วงเวลา 1 ปีกว่า หรือตั้งแต่เริ่มเข้าตลาดหลักทรัพย์ มากที่สุดได้แก่ อันดับ 1 แกร็บ(Grab) จากประเทศสิงคโปร์ เสียหายถึง 28,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 994,000 ล้านบาท อันดับ 2 โกทู(GoTo) จากอินโดนีเซีย เสียหายถึง 19,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 674,500 ล้านบาท และอันดับ 3 บูคาลาพา (Bukalapa) เสียหายถึง 4,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 142,000 ล้านบาท รวมทั้ง 3 รายดังกล่าว ส่งผลให้มูลค่าบริษัทสตาร์ทอัพระดับยูนิคอร์นในอาเซียนเสียหายรวมกัน เสียหายถึง 51,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 1.8 ล้านล้านบาท
.
ทั้งนี้ ซี (Sea) กรุ๊ป ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจสตาร์ทอัพเทคโนโลยียักษ์ใหญ่จากสิงคโปร์ เป็นอีกหนึ่งบริษัทสัญชาติสิงคโปร์ที่มีมูลค่าบริษัทตกต่ำมากถึง 169,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือเสียหายกว่า 6 ล้านล้านบาท จากมูลค่าบริษัทที่เคยสูงสุดในเดือนตุลาคม ปี 2021 ผ่านมา
.
อ่านเพิ่มเติม คลิก https://bit.ly/3VQRGUb
.
ติดตาม BTimes ได้ทุกช่องทาง ดังนี้
เฟซบุ๊ก: https://m.facebook.com/btimesch3/
ยูทูป: https://m.youtube.com/c/MisterBan
ทวิตเตอร์: https://mobile.twitter.com/btimes_ch3
เว็บไซต์: https://btimes.biz
พ็อดคาสท์: https://btimes.podbean.com/
.
#แกร็บ #ซี #โกทู #ช้อปปี้ #สตาร์ทอัพ #อาเซียน #เศรษฐกิจ #BTimes

 

Dec 13, 2022 จะไปอวกาศ! ครม. เห็นชอบแผนแม่บทอวกาศแห่งชาติ ร่างนโยบายดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ ที่รัฐเป็นเจ้าของบริหารจัดการเอง
.
น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบร่างแผนแม่บทอวกาศแห่งชาติ พ.ศ.2566-2580 (National Space Master Plan 2023-2037) และเห็นชอบหลักการร่างนโยบายดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายอวกาศของรัฐบาลให้เป็นรูปธรรม
.
สำหรับร่างแผนแม่บทอวกาศแห่งชาติ พ.ศ.2566 - 2580 (National Space Master Plan 2023 - 2037) มีวิสัยทัศน์ คือ “มุ่งพัฒนาและใช้ประโยชน์จากกิจการอวกาศเพื่อความมั่งคั่ง มั่นคง ยั่งยืน" ดำเนินพันธกิจ เช่น พัฒนาและส่งเสริมความมั่นคงอวกาศ พัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอวกาศ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีอวกาศ ติดตาม เฝ้าระวัง วิจัยและสำรวจอวกาศ ร่างแผนแม่บทอวกาศแห่งชาติฉบับนี้ จะขับเคลื่อนภายใต้ 8 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 กิจการอวกาศเพื่อความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 กิจการอวกาศเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจอวกาศ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารโครงสร้างพื้นฐานด้านอวกาศของประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอวกาศ
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพคน
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 8 การสร้างกลไกการขับเคลื่อนแผนแม่บทอวกาศแห่งชาติ
.
โดยมีเป้าหมาย เพื่อใช้ประโยชน์จากกิจการอวกาศในการรักษาความมั่นคง สร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การให้บริการสาธารณะและเชิงพาณิชย์ รวมถึงขับเคลื่อนกิจการอวกาศแบบบูรณาการ พัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมอวกาศที่มีคุณภาพ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมรองรับกิจการอวกาศ และร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของกิจการอวกาศ
.
ส่วนร่างนโยบายดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ เป็นไปตามนโยบายรัฐบาลในการมีดาวเทียมสำหรับหน่วยงานภาครัฐที่สามารถกำกับดูแลและบริหารจัดการเอง เพื่อใช้ในการให้บริการสาธารณะ ความมั่นคง และเชิงพาณิชย์ เนื่องจากที่ผ่านมารัฐได้รับการจัดสรรช่องสัญญาณ จำนวน 1 วงจรดาวเทียม ตามสัญญาดำเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ หรือสัญญาสัมปทานดาวเทียม เพื่อใช้ในกิจการของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อปริมาณการใช้งานในปัจจุบัน ต่อมาหน่วยงานของรัฐได้มีการเช่าซื้อช่องสัญญาณของดาวเทียมเพิ่มเติมจากดาวเทียมไทยคม 6 ไทยคม 7 และช่องสัญญาณจากต่างชาติ โดยเป็นการใช้ประโยชน์จากดาวเทียมภาพถ่าย ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และดาวเทียมระบบนำร่อง จึงจำเป็น ต้องมีดาวเทียมที่เป็นกรรมสิทธิ์ของรัฐหรือดาวเทียมที่รัฐ มีสิทธิในการควบคุม บริหารจัดการเพื่อสนับสนุนภารกิจของรัฐ ด้วยเหตุนี้ จึงต้องร่างนโยบายดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติขึ้น โดยมีแนวความคิดหลัก คือ 1.จัดให้มีดาวเทียมสื่อสารของประเทศที่เป็นกรรมสิทธิ์ของรัฐ 2.ใช้ประโยชน์จากเอกสารข่ายงานดาวเทียมและตำแหน่งวงโคจรดาวเทียมในนามประเทศไทย 3.ให้ บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) (National Telecom Public Company Limited: NT)รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการ 4.ดำเนินการภายใต้กรอบแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยไม่เป็นการแข่งขันกับเอกชน
.
ทั้งนี้ ที่ประชุมมอบหมายให้ NT ดำเนินการจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญดำเนินการสำรวจความต้องการใช้งานดาวเทียมในเชิงลึกต่อไป และร่วมพิจารณาเพื่อให้การดำเนินงานดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติเกิดผลสำเร็จภายในระยะเวลา 3 ปี
.
น.ส.รัชดา กล่าวด้วยว่า ครม.ยังได้รับทราบความคืบหน้าร่างพระราชบัญญัติกิจการอวกาศ พ.ศ. …. ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมถึงการดำเนินงานศูนย์ประกอบทดสอบดาวเทียมแห่งชาติ (National Assembly Integration and Test: AIT) ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาดาวเทียมของประเทศไทย ได้มอบหมายสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. ให้ดำเนินการขยายผล และส่งเสริมการสร้างเศรษฐกิจอวกาศแก่ภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงขยาย ขีดความสามารถของศูนย์ประกอบทดสอบดาวเทียมแห่งชาติให้รองรับการให้บริการหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่อไป
.
อ่านเพิ่มเติม คลิก https://bit.ly/3Hxwzll
.
ติดตาม BTimes ได้ทุกช่องทาง ดังนี้
เฟซบุ๊ก: https://m.facebook.com/btimesch3/
ยูทูป: https://m.youtube.com/c/MisterBan
ทวิตเตอร์: https://mobile.twitter.com/btimes_ch3
เว็บไซต์: https://btimes.biz
พ็อดคาสท์: https://btimes.podbean.com/
.
#ครม #แผนแม่บทอวกาศแห่งชาติ #ร่างนโยบายดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติ #ศูนย์ประกอบทดสอบดาวเทียมแห่งชาติ #ร่างพระราชบัญญัติกิจการอวกาศ #BTimes

 

ข้อใดคือส่วนประกอบของยานขนส่งอวกาศ

ระบบการขนส่งอวกาศเป็นโครงการที่ถูกออกแบบให้สามารถนำชิ้นส่วนบางส่วนที่ใช้ไปแล้วกลับมาใช้ใหม่อีกเพื่อเป็นการประหยัดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ จรวดเชื้อเพลิงแข็ง ถังเชื้อเพลิงภายนอก (สำรองไฮโดรเจนเหลวและออกซิเจนเหลว) และยานอวกาศ

ส่วนประกอบสำคัญของกระสวยอวกาศคืออะไร

ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter) มันจะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศใสขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆออร์บิเตอร์จะมีแท้งค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แท้งค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้ ...

ข้อใดคือหน้าที่ของกระสวยอวกาศ

กระสวยอวกาศได้ปฏิบัติหน้าที่สำคัญหลายอย่าง เช่น นำดาวเทียมขึ้นไปส่งใหเ้ข้าสู่วิถีโคจร เพื่อประโยชน์ในด้านต่างๆ นำมนุษย์อวกาศพร้อมอุปกรณ์เครื่องมือไปส่งที่สถานีอวกาศหรือหอวิจัยลอย ฟ้านำมนุษย์อวกาศพร้อมเครื่องมือขึ้นไปซ่อมบำรุงดาวเทียมเป็นตน

ยานขนส่งอวกาศ มีอะไรบ้าง

กองยานขนส่งอวกาศมีอยู่กี่ลำ นับตั้งแต่ปี 1981 มีการสร้างยานขนส่งอวกาศ 4 ลำ คือ โคลัมเบีย ชาเลนเจอร์ ดิสคัฟเวอรี่ และ แอตแลนติส ยานขนส่งอวกาศชาเลนเจอร์ประสบอุบัติเหตุระเบิดกลางอากาศ จึงมีการสร้างยานขนส่งอวกาศเอนเดฟเวอร์ ขึ้นมาอีกลำ