ข้อใดคือบทบาทสำคัญของพระยากัลยาณไมตรี *

1.2.1. ได้สมรสกับนางสาวเจสซี วูดโรว์ วิลสัน หลังจากภรรยาคนแรกถึงแก่กรรม ก็ได้สมรสอีกครั้งกับนางเอลิซาเบธ อีแวนส์ เกรฟส์

Show

1.3. การศึกษา

1.3.1. จบการศึกษาจากวิทยาลัยวิลเลียมส์  ในปี พ.ศ. ๒๔๕๒

1.3.2. ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕

1.3.3. ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในปี พ.ศ. ๒๔๖๑

1.4. ประสบการณ์การทำงาน

1.4.1. เป็นผู้ช่วยอธิการบดีวิทยาลัยวิลเลียมส์ (Williams College) ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ – ๒๔๖๐

1.4.2. เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัย Princeton ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ – ๒๔๖๔

1.4.3. เป็นอาจารย์วิชาการปกครอง ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ – ๒๔๖๖

1.4.4. เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ในวิชากฎหมาย

1.5. วิดิโอ

1.5.1. วิดิโอ

2. การเข้ามาเมืองไทยของพระยากัลยาณไมตรี

2.1. ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ดร. ฟรานซิส บี. แซร์ (Dr. Francis Bowes Sayre) ก็ได้เข้ามารับราชการในเมืองไทย เป็นที่ปรึกษาการต่างประเทศ

2.2. ขณะนั้นเมืองไทยกำลังมุ่งที่จะขอแก้ไขสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีที่ประเทศไทยเคยทำไว้กับนานาประเทศ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับอำนาจศาล และการภาษีอากร ซึ่งประเทศไทยเป็นฝ่ายเสียเปรียบอยู่         จนสามารถดำเนินการแก้ไขสนธิสัญญาสำเร็จกับประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศฮอล์แลนด์ ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศเดนมาร์ก ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศสเปน และประเทศโปรตุเกสได้สำเร็จ

3. เรื่องน่ารู้

3.1. พระราชทานบรรดาศักดิ์

3.1.1. ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ เป็นชาวตะวันตกคนที่ ๒ ที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยากัลยาณไมตรีชาวตะวันตกคนแรกที่เป็นพระยากัลยาณไมตรี

3.2. โดยใน พ.ศ. ๒๔๔๖ - ๒๔๕๑  เป็นผู้ช่วยที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน  หลังจากนั้นเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดินจนถึง พ.ศ. ๒๔๕๘ จึงกราบถวายบังคมลาออกกลับไปสหรัฐอเมริกา  เวสเตนการ์ดได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยาณไมตรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔

4. ผลงานที่สำคัญ

4.1. พระยากัลยาณไมตรี ก็มีส่วนช่วยในการร่างรัฐธรรมนูญด้วย โดยรัฐธรรมนูญที่พระยากัลยาณไมตรี ร่างนั้นมีเพียง ๑๒ มาตรา เรียกว่าเป็น “Outline of Preliminary Draft”

4.1.1. มาตรา ๑ ว่าด้วยการยืนยันว่าพระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งอำนาจสูงสุดในราชอาณาจักร

4.1.2. มาตรา ๒ - มาตรา ๖ กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรีซึ่งบริหารราชการแผ่นดินโดยรับผิดชอบต่อพระมหากษัตริย์ โดยให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งรัฐมนตรีและถอดถอนรัฐมนตรี ซึ่งรับผิดชอบในการบริหารกระทรวงต่อนายกรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีประชุมปรึกษากันแล้ว นายกรัฐมนตรีต้องนำข้อราชการสำคัญขึ้นกราบบังคมทูล เพื่อขอพระบรมราชวินิจฉัย

ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ มีบทบาทสำคัญในการปลดเปลื้องข้อผูกพันตามสนธิสัญญาเบาว์ริงที่ไทยทำไว้กับประเทศอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ ๔ และสนธิสัญญาลักษณะเดียวกันที่ไทยทำไว้กับประเทศอื่น ๆ ซึ่งฝ่ายไทยเสียเปรียบมากในเรื่องที่คนในบังคับต่างชาติไม่ต้องขึ้นศาลไทย และไทยจะเก็บภาษีจากต่างประเทศเกินร้อยละ ๓ ไม่ได้ ประเทศไทยพยายามหาทางแก้ไขสนธิสัญญาเสียเปรียบนี้มาโดยตลอด ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ มาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๖ ปรากฏว่ามีเพียง ๒ ประเทศที่ยอมแก้ไขให้โดยยังมีข้อแม้บางประการ ได้แก่ สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศแรกที่ยอมแก้ไขใน พ.ศ. ๒๔๓๖ และญี่ปุ่นยอมแก้ไขใน พ.ศ. ๒๔๖๖

เมื่อ ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ เข้ามาประเทศไทยแล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญากับประเทศในยุโรป ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ เริ่มออกเดินทางไปปฏิบัติงานใน พ.ศ. ๒๔๖๗ การเจรจาเป็นไปอย่างยากลำบาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจรจากับอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งต่างก็พยายามรักษาผลประโยชน์ของตนเต็มที่ แต่เนื่องจาก ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ เป็นผู้มีวิริยอุตสาหะ มีความสามารถทางการทูต และมีความตั้งใจดีต่อประเทศไทย ประกอบกับสถานภาพส่วนตัวของ ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ ที่เป็นบุตรเขยของประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา จึงทำให้การเจรจาประสบความสำเร็จ ประเทศในยุโรปที่ทำสนธิสัญญากับไทย ได้แก่ ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ สเปน โปรตุเกส เดนมาร์ก สวีเดน อิตาลี และเบลเยี่ยม ยินยอมแก้สนธิสัญญาให้เป็นแบบเดียวกับที่สหรัฐอเมริกายอมแก้ให้ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ ถวายบังคมลาออกจากหน้าที่กลับไปสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. ๒๔๘๖ แต่ก็ยังยินดีที่จะช่วยเหลือประเทศไทย ดังเช่นใน พ.ศ. ๒๔๖๙ หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงขึ้นครองราชย์ได้ไม่นาน ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ ได้ถวายคำแนะนำเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมือง และแนวทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ตามที่ทรงถามไป และยังได้ร่างรัฐธรรมนูญถวายให้ทรงพิจารณาด้วย

จากคุณงามความดีที่ ดร.ฟรานซิส บี. แซร์ มีต่อประเทศไทย จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยากัลยาณไมตรี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ และต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๑๑ รัฐบาลไทยได้ตั้งชื่อถนนข้างกระทรวงต่างประเทศ (วังสราญรมย์) ว่า ถนนกัลยาณไมตรี พระยากัลยาณไมตรีถึงแก่อนิจกรรมที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ อายุได้ ๘๗ ปี

พระยากัลยาณไมตรี (ดร. ฟรานซิส บี. แซร์) ชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศของไทยสมัยรัชกาลที่...

Posted by ประวัติศาสตร์น่ารู้ on Sunday, February 25, 2018

          แนวการจัดการศึกษาตามข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง เน้นการปฏิรูป 3 ประเด็น คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา สำหรับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาการดำรงชีวิตในทางสายกลาง ซึ่งนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการศึกษาส่วนแนวคิดเกี่ยวกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ที่บูรณาการองค์ประกอบต่าง ๆ ทั้งทักษะของผู้เรียน โดยมีวิชาแกนและแนวคิดสำคัญเป็นตัวยึดโยงให้ไปสู่ทักษะดังกล่าว และมีระบบสนับสนุน เพื่อให้กระบวนการดำเนินการบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ การจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนนั้นมีการกำหนดยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียน แนวการดำเนินการและภารกิจเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ข้อใดคือบทบาทที่สําคัญของพระยากัลยาณไมตรี

ขณะดำรงตำแหน่งในประเทศไทย ได้ช่วยงานด้านการต่างประเทศของไทย โดยเป็นที่ปรึกษาด้านการต่างประเทศตั้งแต่ พ.ศ. 2466 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเฉพาะในด้านสนธิสัญญาและร่วมร่างเค้าโครงรัฐธรรมนูญฉบับของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วย ในชื่อ "Outline of ...

ข้อใดคือบทบาทสำคัญของบาทหลวง

บาทหลวง คือ 'ศาสนบริกร' ผู้ได้รับเจิมจากองค์พระผู้เป็นเจ้า มีหน้าที่ถวายบูชามิสซาและประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น โปรดศีลล้างบาป ศีลอภัยบาป การแต่งงาน งานศพ ฯลฯ ซึ่งเป็นผู้แทนขององค์พระผู้เป็นเจ้าในพิธีกรรมนั้นๆ

ข้อใดคือบทบาททางการปกครองที่สำคัญของพระบาทสมเด็จพระพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช *

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร (หรือกรุงรัตนโกสินทร์) เป็นราชธานี และทรงสถาปนาราชวงศ์จักรีปกครองราชอาณาจักรไทยเมื่อ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 (วันจักรี) ภายหลังการเสด็จเสวยราชย์แล้ว พระองค์ทรงมีพระราชกรณีกิจที่สำคัญยิ่ง คือ การป้องกันราชอาณาจักรให้ปลอดภัยและทรงฟื้นฟูวัฒนธรรมไทยอันเป็นมรดกตกทอดมา ...

ข้อใดคือจุดประสงค์สำคัญที่ทำให้เกิดการปฏิรูปประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5

การปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 ไม่ได้เป็นไปเพื่อรักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติตามความหมายแต่ดั้งเดิม แต่มีจุดประสงค์เพื่อรักษาเกียรติยศและสร้างสถานะของกษัตริย์สยาม ให้อยู่เหนือกว่าบรรดาเจ้าประเทศราชทั้งหลายรวมถึงราษฎรด้วย หรือพูดง่าย ๆ ว่า รัชกาลที่ 5 ทรงกระทำไปเพื่อพระองค์เอง