ประกันสังคมมาตรา33กับ39ต่างกันยังไง

"สำนักงานประกันสังคม" พารู้จักกองทุน 3 มาตรา สำหรับผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 สวัสดิการคนทำงานแต่ละกลุ่มแตกต่างกันอย่างไร คุ้มครองอะไรบ้าง

วันที่ 20 ธ.ค. 2564 เฟซบุ๊ก สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน โพสต์ข้อความเรื่อง "มารู้กองทุนประกันสังคม 3 มาตรา มาตราไหน คุ้มครองอะไรบ้าง" โดยระบุว่า เพราะประกันสังคมไม่ได้ครอบคลุมแค่กลุ่มมนุษย์เงินเดือนเท่านั้น แต่แบ่งออกเป็น 3 มาตราหลักที่มอบสวัสดิการให้คนทำงานแต่ละกลุ่ม แตกต่างกันดังนี้

  • มาตรา 33 คือ ลูกจ้างผู้ซึ่งทำงานให้กับนายจ้างที่อยู่ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ ว่างงาน

  • มาตรา 39 คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ โดยเป็นบุคคลที่เคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 จ่ายเงินสมทบก่อนออกจากงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนแล้วลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน แต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคม โดยได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ

  • มาตรา 40 คือ บุคคลทั่วไปที่ประกอบอาชีพ หรือแรงงานอิสระ ไม่เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยได้รับความคุ้มครองมากที่สุด 5 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย ชราภาพ และสงเคราะห์บุตร ตามเงื่อนไขการเกิดสิทธิ

อย่างไรก็ตาม สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง.

ขอบคุณเฟซบุ๊ก สำนักงานประกันสังคม

//www.accprotax.com/wp-content/uploads/2021/02/ความแตกต่างของประกันตนมาตรา-33และ39.mp4

ประกันสังคมมาตรา 33

เป็นพนักงานบริษัทเอกชนทั่วไปเป็นลูกจ้าง โดยอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี และไม่เกิน 60 ปี

โดยอัตราเงินสมทบที่ต้องจ่ายจะแบ่งเป็นส่วนของลูกจ้าง 5% และนายจ้าง 5% ซึ่งคิดจากค่าจ้าง 1,650 – 15,000 บาท (ยึดตามยอดที่จ่ายจริง หากต่ำกว่า 1,650 บาท ให้คิดที่ 1,650 บาท แต่หากเงินเดือนมากกว่า 15,000 บาท ก็จะคิดที่ 15,000 บาทเท่านั้น) แต่เนื่องจากสถานการณ์ COVID19 อัตราสมทบของเดือนก.ย.-พ.ย. 63 จะลดลงเหลือฝ่ายละ 2% เท่านั้น

ประกันสังคมมาตรา 39

 คือ บุคคลที่เคยทำงานอยู่ในบริษัทเอกชนในมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออก แต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้สิทธิประกันสังคมในมาตรา 39 แทน โดยมีเงื่อนไขว่าต้องเป็นผู้ประกันตนในมาตรา 33 มาแล้วไม่ต่ำกว่า 12 เดือน และออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน และต้องไม่เป็นผู้ทุพพลภาพ เงินสมทบที่จะต้องนำส่งคือเดือนละ 432 บาท (คิดจากฐานเงินเดือน 4,800 บาท*9%) แต่เนื่องจากสถานการณ์ COVID19 อัตราสมทบของเดือนก.ย.-พ.ย. 63 จะลดลงเหลือเดือนละ 96 บาท เท่านั้น

ในส่วนของสิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกันทั้งสองแบบนี้จะได้รับเรียกว่าเหมือนกันหมด ไม่ว่าจะเป็น

  1. กรณีเจ็บป่วย
  2. คลอดบุตร
  3. สงเคราะห์บุตร
  4. ทุพพลภาพ
  5. เสียชีวิต
  6. ชราภาพ

ยกเว้นแต่กรณีที่ 7.ว่างงาน ที่ผู้ประกันตนมาตรา 33 เท่านั้นที่จะมีสิทธิได้รับ

แต่เงินที่จะได้รับในส่วนของมาตรา 33 และ 39 สำหรับกรณีที่ต้องใช้ฐานเงินเดือนมาคำนวณ เช่น กรณีเสียชีวิต หรือชราภาพ หากเป็นมาตรา 33 จะดูที่ฐานเงินเดือนที่จ่ายจริงคือขั้นต่ำที่ 1,650 บาทและสูงสุดที่ 15,000 บาท ในขณะที่มาตรา 39 จะมีฐานเงินเดือนเดียวที่ 4,800 บาท

เกร็ดความรู้กับธรรมนิติ : ประกันสังคมมาตรา 33 กับ 39 ต่างกันอย่างไร

อ้างอิง : //www.facebook.com/actaxweknow

Post Views: 11

ทั่วไป

06 ก.ย. 2564 เวลา 15:13 น.187.6k

แจ้งข่าวเล่าความ.. "ประกันสังคม" มาตรา 33 มาตรา 39 มาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง

สำนักงานประกันสังคม ชี้แจง 3 มาตรา…มาตราไหน คุ้มครองอะไรบ้าง? เพราะประกันสังคมไม่ได้ครอบคลุมแค่กลุ่มมนุษย์เงินเดือนเท่านั้น แต่แบ่งออกเป็น 3 มาตราหลักที่มอบสวัสดิการให้คนทำงานแต่ละกลุ่ม แตกต่างกันดังนี้

มาตรา 33 คือ ลูกจ้างผู้ซึ่งทำงานให้กับนายจ้าง ที่อยู่ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ ว่างงาน

มาตรา 39คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ โดยเป็นบุคคลที่เคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 จ่ายเงินสมทบก่อนออกจากงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนแล้วลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน แต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคม โดยได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ

มาตรา 40คือ บุคคลทั่วไปที่ประกอบอาชีพ หรือแรงงานอิสระ ไม่เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยได้รับความคุ้มครองมากที่สุด 5 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย ชราภาพ และสงเคราะห์บุตร ตามเงื่อนไขการเกิดสิทธิ


2 กองทุนของประกันสังคมที่คุ้มครองชีวิตคนทำงาน
เงินที่ประกันสังคมใช้จ่ายเพื่อสิทธิประโยชน์ มาจากกองทุนประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน ซึ่งทั้ง 2 กองทุน คือ หลักประกันแก่ผู้ประกันตนให้ได้รับประโยชน์ทดแทน ต่างกันที่ที่มาของเงินและความครอบคลุมในการคุ้มครองเท่านั้น

กองทุนประกันสังคม นายจ้าง ลูกจ้าง ต้องนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน โดยคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับ กำหนดฐานค่าจ้างขั้นต่ำที่ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท โดยรัฐบาลจะออกเงินสมทบเข้ากองทุนด้วยส่วนหนึ่ง สิทธิประโยชน์จากกองทุนประกันสังคมที่ลูกจ้างจะได้รับจะมี 7 กรณี ได้แก่
(1) ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
(2) คลอดบุตร
(3) ทุพพลภาพ
(4) ตาย
(5) สงเคราะห์บุตร
(6) ชราภาพ
(7) ว่างงาน


กองทุนเงินทดแทน
คือ กองทุนที่จ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงานให้แก่นายจ้าง โดยนายจ้างจ่ายเงินเข้ากองทุนเงินทดแทนแต่เพียงฝ่ายเดียว สิทธิประโยชน์จากกองทุนเงินทดแทนที่ลูกจ้างจะได้รับจะมี 4 กรณีได้แก่
(1) ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
(2) ทุพพลภาพ
(3) ตายหรือสูญหาย
(4) สูญเสียอวัยวะ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม www.sso.go.th หรือโทรสายด่วน 1506 ให้บริการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

ประกันสังคมมาตรา 33 39 40 แตกต่างกันอย่างไร

สรุปง่าย ๆ ให้เข้าใจ คือ ประกันสังคมมาตรา 39 เหมาะสำหรับผู้ที่เคยทำงานประจำหรือเคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 มาก่อน เมื่อออกจากงานแล้วยังต้องการคงสภาพความคุ้มครองประกันสังคมอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ประกันสังคมมาตรา 40 เหมาะกับผู้ประกอบอาชีพอิสระ หรือแรงงานนอกระบบที่ไม่เคยทำประกันสังคมมาก่อนและต้องการได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ...

ประกันสังคมมาตรา 33 และ 39 คืออะไร

มาตรา 39 คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ โดยเป็นบุคคลที่เคยเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 จ่ายเงินสมทบก่อนออกจากงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนแล้วลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน แต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคม โดยได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี ได้แก่ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ

ม33 กับ ม40 ต่างกันยังไง

1. พนักงานเอกชนทั่วไป (มาตรา 33) ได้รับความคุ้มครอง 7 กรณี 2. เคยเป็นพนักงานแต่ลาออก (มาตรา 39) ได้รับความคุ้มครอง 6 กรณี 3. อาชีพอิสระ/แรงงานนอกระบบ (มาตรา 40) ได้รับความคุ้มครอง 3 หรือ 4 กรณี

ประกันสังคมมาตรา 39 คืออะไร

ผู้ประกันตนมาตรา 39 คือ ผู้ประกันตนโดยสมัครใจ คุณสมบัติผู้ประกันตน .39 ดังนี้ เคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 นำส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่ลาออกจากงาน ต้องไม่เป็นผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพจากกองทุนประกันสังคม

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน