การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

สวัสดีน้อง ๆ ทุกคน สำหรับเนื้อหาในบทเรียนภาษาไทยวันนี้ต้องขอบอกเลยว่าสนุก และไม่หนักจนเกินไป เพราะเป็นเรื่องของทักษะการฟังเพื่อจับใจความที่เราสามารถฝึกฝน เรียนรู้ แล้วนำไปใช้ในการเรียน หรือการใช้ชีวิตประจำวันของเราได้ โดยวันนี้เราจะมาทำความเข้าใจกันว่าการฟังเพื่อจับใจความมันคืออะไร แตกต่างไปจากการฟังแบบทั่วไปอย่างไร แล้วลักษณะของการฟังเพื่อจับใจความมีอะไรบ้าง ถ้าทุกคนพร้อมแล้วอย่ารอช้าเรามาเริ่มต้นเข้าสู่เนื้อหาในวันนี้กันเลยดีกว่า

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

กระบวนการในการฟังของมนุษย์

การฟังเป็นกระบวนการรับสารของมนุษย์อีกอย่างหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสาร มนุษย์ใช้กระบวนการรับรู้เสียงต่าง ๆ ผ่านหู และใช้สมองในการแปลความหมาย ซึ่งโดยทั่วไปแล้วมนุษย์มีกระบวนการเรียนรู้อยู่หลัก ๆ  5  ขั้นคือ

1) ขั้นได้ยิน คือ ได้ยินเสียงต่าง ๆ ผ่านการฟังด้วยหู

2) ขั้นรับรู้ คือ รับรู้ได้ว่าเสียงนั้นเป็นเสียงอะไร

3) ขั้นตีความ แยกแยะ คือ ให้เราตีความว่าสิ่งที่เราฟังเป็นสารอะไร มาจากที่ไหน ต้องการจะบอกอะไรเรา แยกแยะให้ได้ว่าน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน แล้วเราควรตอบสนองกลับไปไหม

4) ขั้นเข้าใจ คือ ขั้นตอนที่เกิดหลังจากการตีความ ผู้ฟังจะเข้าใจว่าเสียงนั้นคือเสียงอะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร สารที่ได้ฟังนั้นมีใจความสำคัญว่าอย่างไร

5) ขั้นตอบสนอง คือ หลังจากที่ได้พินิจพิจารณา ไตร่ตรองว่าเสียง หรือสารที่รับมามีแหล่งที่มาจากไหน น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดแล้ว สมองจะสั่งการให้เราตอบสนองไม่ว่าจะด้วยการพูด หรือเป็นภาษาทางร่างกาย

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

การฟังเพื่อจับใจความ คืออะไร

การฟังเพื่อจับใจความเป็นการฟังในขั้นที่ 3 ของกระบวนการฟัง เป็นการจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่เราฟังว่าผู้พูด หรือสารที่ถูกส่งมานั้นต้องการจะบอกอะไรกับเรา ซึ่งในปัจจุบันนี้ทักษะการฟังเพื่อจับใจความถือเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพราะเราได้รับสารจากหลายทาง และมีหลากหลายรูปแบบ เราอาจจะได้ใช้ทักษะนี้ในการฟังครูสอนในห้อง ฟังข่าวในโทรทัศน์ หรือแม้แต่การสนทนากับเพื่อนก็ล้วนแล้วแต่ต้องใช้ทักษะนี้เพื่อให้เราได้เนื้อหาสาระสำคัญโดยไม่ต้องจดจำให้ยืดยาว เก็บเพียงแค่แก่นสำคัญของเรื่องนั้นไว้ก็พอ เดี๋ยวเราจะมาดูกันว่าลักษณะของการฟังเพื่อจับใจความมีอะไรบ้าง

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

ลักษณะของการฟังเพื่อจับใจความ

สำหรับน้อง ๆ ที่กำลังสงสัยว่าการที่เราจะฟังแล้วจับใจความสำคัญได้ต้องทำอย่างไร การฟังแบบนี้มีลักษณะแบบไหน เราจะมาทำความเข้าใจไปพร้อมกัน โดยหลัก ๆ แล้วการฟังเพื่อจับใจความจะมีลักษณะสำคัญอยู่ทั้งหมด 3 ข้อ

1.การวิเคราะห์

คือ การแยกประเด็นนั้นออกเป็นส่วน ๆ เพื่อให้เราเข้าใจองค์ประกอบ หรือรายละเอียดของสารที่ได้ฟัง ใช้การพินิจพิเคราะห์จนเข้าใจในเนื้อหาที่ฟังยกตัวอย่างเช่น การจำแนกส่วนประกอบของก๋วยเตี๋ยว หรือการแยกแยะองค์ประกอบของนิทานหนึ่งเรื่องว่ามีอะไรบ้าง

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

2. การสังเคราะห์

คือ การขมวดรวมเนื้อหาสาระให้อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน หรือหมวดหมู่ที่คล้ายคลึงกัน ทำให้เนื้อหานั้นกระชับ และครอบคลุม เข้าใจง่าย โดยใช้การสังเกตส่วนที่ชุดข้อมูลนั้นมีร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น การจัดหมวดหมู่สัตว์ หรือสิ่งของต่าง ๆ

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

3. การแยกแยะข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น

สำหรับลักษณะข้อต่อมาคือ การแยกแยะให้ได้ว่าสารที่ฟังนั้นเป็นข้อเท็จจริง หรือข้อคิดเห็น เพราะมันจะส่งผลต่อ
ความรู้สึกเชื่อถือ หรือคล้อยตามไปกับสิ่งที่ฟังด้วย เราอาจจะเห็นมากในการฟังสารประเภทข่าว หรือโฆษณา ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเราจะสังเกตว่าข้อคิดเห็นมักจะใส่อารมณ์ความรู้สึกส่วนตัวลงไป ส่วนข้อเท็จจริงจะต้องมีการพิสูจน์ มีเหตุมีผลที่น่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น

 

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

 

บทส่งท้าย

การฟังถือเป็นเรื่องสำคัญมาก ๆ เพราะเป็นทักษะเริ่มต้นในทุกภาษา และต้องใช้ในทุกสถานการณ์ ถ้าน้อง ๆ อยากรับฟังสารที่ดี มีความน่าเชื่อถือ ได้สาระสำคัญ การฟังเพื่อจับใจความจึงเป็นสิ่งที่เราต้องฝึกฝน เพียงแค่เริ่มจากการลองแยกแยะเรื่องที่ฟัง ไม่ว่าเป็นสารที่มาจากการสนทนา หรือสารที่เรารับฟังจากสื่อต่าง ๆ  ยิ่งเราเรียนในระดับที่สูงขึ้น เราก็จะได้ใช้กระบวนการวิเคราะห์ตีความสารที่ฟังในเชิงลึกขึ้นด้วย ดังนั้น หวังว่าน้อง ๆ จะได้ประโยชน์จากเนื้อหาที่เรียนในวันนี้ และอย่าลืมว่าก่อนจะรับสารอะไรมาต้องผ่านการวิเคราะห์ตีความให้ดีก่อนที่จะเชื่อ เพื่อให้น้อง ๆ ได้รับประโยชน์จากเนื้อหานั้นอย่างแท้จริง

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

Life is Simple: ทำความรู้จัก Present Simple Tense

เรื่อง Tense (กาล) ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่สำคัญมากๆ อีกเรื่องหนึ่ง และ Tense ที่เป็นพื้นฐานสุดๆ และน้องๆ จะพบเจอบ่อยที่สุดก็คือ Present Simple นั่นเอง วันนี้เราจะมาปูพื้นฐานและทบทวนความรู้เรื่องนี้กันครับ

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

Three-word Phrasal verbs

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.5 ที่น่ารักทุกคนวันนี้ครูมีกริยาวลีที่ใช้บ่อยแบบ 3 คำ หรือ Three-word Phrasal Verbs มาฝากกันจ้า ด้านล่างเลยน๊า ขอให้ท่องศัพท์ให้สนุกจ้า ตารางคำศัพท์Three-word Phrasal Verbs ต้องรู้   ask somebody out ชวนออกเดท/ชวนออกไปข้างนอก add up to something ทำให้สมน้ำสมเนื้อ/ทำให้เท่ากัน back something up

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ บทอาขยานที่ควรค่าแก่การจำ

จนถึงตอนนี้น้อง ๆ คงได้เรียนวรรณคดีกันมามากมายหลายเรื่อง แต่ละเรื่องก็อาจจะมีการใช้ลักษณะคำประพันธ์ที่ต่างกันออกไป หรือซ้ำกันบ้าง บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ ก็เป็นหนึ่งในวรรณคดีไทยที่อยู่ในแบบเรียนของน้อง ๆ แต่ความพิเศษคือลักษณะคำประพันธ์ที่น้อง ๆ อาจจะไม่เคยได้ยินมาก่อนอย่าง อินทรวิเชียร์ฉันท์ 11 จะเป็นอย่างไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปเรียนรู้วรรณคดีเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ   ความเป็นมาของบทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ   บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ เป็นบทร้อยกรองขนาดสั้น มีเนื้อหาแสดงคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ ประพันธ์ขึ้นโดย

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

ศึกษาประวัติความเป็นมาและเรื่องย่อของเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา

ราชาธิราช เป็นวรรณคดีประเภท พงศาวดาร ที่มีการแปลมาจากพงศาวดารมอญ น้อง ๆ หลายคนคงจะทราบกันดีอยู่แล้วว่าพงศาวดารก็คือเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ แต่ทราบกันหรือไม่คะว่าทำไมในแบบเรียนภาษาไทยของเรานั้นถึงต้องเรียนเรื่องราชาธิราช ที่เป็นพงศาวดารมอญด้วย วันนี้เราจะพาน้อง ๆ ทุกคนไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องราชาธิราชรวมไปถึงเรื่องย่อ ซึ่งในบทที่เราจะเรียนนี้คือตอน สมิงพระรามอาสา เรื่องราวจะเป็นอย่างไรบ้าง ไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ราชาธิราช   ประวัติความเป็นมา     ราชาธิราชเป็นวรรณคดีร้อยแก้วที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์แตกต่างกันอย่างไร

อนุกรมเลขคณิต

อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต คือการนำลำดับเลขคณิตแต่ละพจน์มาบวกกัน โดย เขียนแทนด้วย จากบทความ “สัญลักษณ์การบวก” ซึ่งเป็นการลดรูปการเขียนจำนวนหลายจำนวนบวกกัน ในบทความนี้จะพูดถึงการบวกของลำดับเลขคณิต การหาผลบวก สูตรสำหรับการหาผลบวกเลขคณิต สูตรอนุกรมเลขคณิต สูตรของอนุกรมเลขคณิตมีอยู่ 2 สูตร ดังนี้ 1)   โดยที่ d คือ ผลต่างร่วม 2)   โดยจะใช้สูตรนี้ก็ต่อเมื่อรู้ค่า

Modal Auxiliaries ที่สำคัญ

สวัสดีค่านักเรียนชั้นม.4 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดู ” Modal Auxiliaries หรือ Modal verbs “ ที่ใช้บ่อยพร้อมเทคนิคการใช้งานง่ายๆกันค่า Let’s go! ไปลุยกันเลยจร้า รู้จักกับ Modal Auxiliaries Modal Auxiliaries คือ กริยาช่วยกลุ่ม  Modal verbs หรือ  บางครั้งเรียกว่า

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูลมีความแตกต่างกันอย่างไร

๒. วิธีคิดเชิงสังเคราะห์ คาว่า วิเคราะห์กับคา สังเคราะห์ มีความหมายที่แสดงถึง กระบวนการคนละทางกัน การวิเคราะห์มีความหมายว่า แยกออกพิจารณา โดยมีจุดหมาย ปลายทางเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ส่วนการสังเคราะห์มีความหมายไปทางรวมเข้าด้วยกัน โดยมี จุดหมายปลายทางอยู่ที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้น สาหรับขั้นตอนวิธีคิดเชิงสังเคราะห์ จะต้อง ...

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์สาร หมายถึงอะไร

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์สาร จึงหมายถึง การที่ผู้รับสารสามารถรับรองอย่างใคร่ครวญไตร่ตรอง พินิจพิจารณา สามารถนำสาระสำคัญและความรู้ความคิดที่ได้จากสารนั้นไปใช้ประโยชน์ได้

การสังเคราะห์หมายถึงอะไร

การสังเคราะห์ (Synthesis) ประชุม)การสังเคราะห์ เป็นกระบวนบูรณาการปัจจัยต่างๆตั้งแต่สองปัจจัยขึ้นไปซึ่งอาจ เป็นได้ทั้งคน สัตว์ สิ่งของรวมทั้งเหตุการณ์และสิ่งที่อยู่ในรูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ ประกอบร่วมกันเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือเกิดปรากฏการใหม่ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการบูรณา

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูลมีความสําคัญอย่างไร

การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อศึกษาว่าข้อมูลทั้งหลายมีความสอดคล้องหรือขัดแย้งกันอย่างไร จากนั้นนำข้อมูลทั้งหลายมาวิเคราะห์หรือแยกแยะประเด็น คือ สาเหตุ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลของเหตุการณ์แล้วสังเคราะห์หรือรวมประเด็นต่างๆเป็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ตามประเด็นที่ต้องการศึกษา