ซอฟต์แวร์เฉพาะทาง มีอะไรบ้าง

�Ϳ��������ҹ੾���Ҩ��������ٻẺ�ͧ�Ϳ�������� ����繷������ѹ�����š���㹡�����ͧ����м���˭� �ٻẺ�ͧ�Ϳ�����������������ҧ��ҡ���� �Ϳ���������ҧ����������ö��͡Ѻ�ػ�ó������������������дǡ㹡����ҹ �� ��ҹ�Ǻ��� �Ϳ�����������Ъ�Դ���դ��������������������������ᵡ��ҧ�ѹ �ѧ��鹡�����͡��ҹ�Ϳ���������֧�������ҧ��觷���ͧ�ա�þԨ�ó�����ͺ�ͺ ��Ф�û�֡�Ҽ�黡��ͧ�֧���������������

2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป

*************************************************

2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

      ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน คือ การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สำเร็จมักจะเน้นการใช้งานทั่วไป แต่อาจจะนำมาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่นในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้าก็มีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสำหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย   ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบการทำงานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดทำขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทำงาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจำหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซื้อ   ความต้องการของการใช้คอมพิวเตอร์ในงานทางธุรกิจยังมีอีกมาก ดังนั้นจึงต้องมีความต้องการผู้พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะต่าง ๆ อีกมากมาย

ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน  เป็นซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อทำงานอย่างใด
อย่างหนึ่ง และไม่สามารถ ทำงานอื่นได้  เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมเพื่องานออก
แบบ โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
1. โปรแกรมระบบบัญชี (Accounting) เช่น ระบบบัญชีเงินเดือน ลูกหนี้ ระบบเช่าซื้อ
บัญชี แยกประเภท
2. โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม CAM (Computer-Aided Manufactory
and Composition And Make-up) ซอฟต์แวร์ชนิดนี้ใช้สำหรับงานด้านอุตสาหกรรม
เป็นส่วนใหญ่ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ดูแลและควบคุมเครื่องจักรกลแทนคน หรืองานประเภท
ที่ต้องทำซ้ำๆ กัน ครั้งละมากๆ (Mass-production)
3. โปรแกรมช่วยในการเรียนการสอน CAI (Computer-Assisted Instruction)
โดยการใช้คอมพิวเตอร์ หรือจำลองตัวเองเป็นสื่อในการเรียนการสอนประกอบกับรูปภาพ
(เคลื่อนไหว) ในลักษณะต่างๆ ซึ่งทำให้ง่ายต่อความเข้าใจ
4. เกมส์ (Game) สำหรับผ่อนคลายหลังจากการใช้เครื่องแต่ส่วนใหญ่นิยมเล่นเพื่อความ
เพลิดเพลินกว่า   ตัวอย่างของเกมส์เหล่านี้ได้แก่ โปรแกรมเกมส์ต่างๆ ตามห้างสรรพสินค้า
(Arcade game)  เกมส์บนกระดาน  (Board game) เช่น หมากรุก โมโนโปลีฯลฯ เกมส์ไพ่
(Card) เกมส์เสมือนหรือจำลอง
5. โปรแกรมเพื่องานออกแบบหรือ CAD (Computer-Aidea Design) เช่น AutoCad
AutoLISP และ  DisgnCAD เป็นต้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ใช้สำหรับการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ และงานออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม
6. โปรแกรมตรวจสอบ/ป้องกันไวรัส (Anti-Virus) มีไว้เพื่อป้องกันการโจมตีของไวรัส
คอมพิวเตอร์ และมักจะมีคำสั่งให้ทำลายล้างไวรัสออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น McAfee
virus scan, AVI-scan, Norton Anti-virus เป็นต้น
7. โปรแกรมมัลติมีเดีย   (Multimedia)  เป็นซอฟต์แวร์ใช้สำหรับสร้างโปรแกรม CAI
หรือทำ Presentation หรือใช้สำหรับดูหนัง  ฟังเพลง  เช่น  Multimedia Toolbook, Xing
MPEG, Authorware, PowerDVDชนิดอื่นๆ เช่น ระบบธุรกิจต่างๆ งานทำดนตรีงานตัดต่อ
ภาพยนตร์ การวางแผนงาน งานศิลปะ  งานวาดรูป การประมาณการ วิเคราะห์  งานพัฒนา การบริหารโครงงาน
ข้อดี
1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการปฏิบัติงานให้กับการทำงาน
2. สามารถสร้างระบบงานและกระบวนการทำงานได้ถูกต้อง รวดเร็ว เชื่อมโยงกันได้ครบวงจร
3. ลดความซ้ำซ้อนของการเก็บข้อมูล เพราะมีการนำข้อมูลเข้าเพียงครั้งเดียว ซึ่งจะทำให้ข้อมูลเหมือนกันทั้งองค์กร
4. มีศูนย์รวมระบบข้อมูลสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ
5. นำกระบวนการทำงานที่ดีที่สุดมาใช้ในองค์กร
6. มีความยืดหยุ่น สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ตามความต้องการ
7. มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี มีระบบควบคุมภายใน
8. สร้างรายงานและช่วยวิเคราะห์รายงานที่ใช้ในการวางแผน
9. ลดค่าใช้จ่ายการดำเนินงานได้ในระยะยาว
ข้อเสีย
1. ต้องปรับตัวให้เข้ากับโปรแกรม ต้องมีการเปลี่ยนกระบวนการทำงาน
2.เกี่ยวข้องกับแทบทุกหน่วยงานในองค์กร ใช้เวลาในการ Implement นาน จึงต้องทำความเข้าใจกับพนักงาน ไม่อย่างนั้นอาจเกิดการต่อต้านการใช้โปรแกรมได้เพราะในช่วง Implement อาจต้องทำงานทั้งงานเดิม และป้อนข้อมูลใส่โปรแกรม จึงทำให้มีการทำงานเพิ่มขึ้นจากเดิม
3. มีความซับซ้อน พนักงานที่ป้อนข้อมูลไม่ค่อยเอาใจใส่ ป้อนข้อมูลผิดพลาด แล้วผลลัพธ์ที่ได้ก็จะผิดต่อๆ กัน เพราะ จะไม่ป้อนข้อมูลซ้ำๆ กัน เมื่อต้นทางป้อนข้อมูลไปผิด ผู้รับปลายทางจะได้รับข้อมูลที่ผิดไปด้วย
4. บางตัวมีขนาดใหญ่มาก ถูกทำมาเพื่อกลุ่มอุตสาหกรรมอาจจะไม่เหมาะกับโรงงานเล็กๆ บางตัวเป็นแนวบัญชี ไม่เหมาะสมกับงานอุตสาหกรรม ดังนั้นต้องเลือกดีๆ
สรุป
เวลาเปิดแหล่งข้อมูลที่ได้นำเสนอ เทคโนโลยีให้ได้ในราคาถ้าเราเปรียบเทียบกับบริการ ERP แต่ ERP ซอฟต์แวร์เป็นส่วนประกอบสำคัญที่สุดของบริษัทธุรกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง และมันได้กลายเป็นต้องใช้ซอฟต์แวร์ ERP เพื่อปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ มีซอฟต์แวร์ ERP หลากหลายมากเป็น Open Source ERP ตัวอย่าง ได้ง่าย ๆ  
มีข้อได้เปรียบที่ ยิ่งใหญ่มากมาย จะสามารถดาวน์โหลดได้จากอินเทอร์เน็ต และเรียกใช้งานในระบบธุรกิจใด ๆ เพื่อให้ตรงกับความต้องการทางธุรกิจโดยไม่จำเป็นต้องจ่ายเงินสำหรับมัน ERP ไคลเอ็นต์เซิร์ฟเวอร์ถูกนำไปใช้ โดยสื่อหลายบริษัทขนาดใหญ่แม้ว่าข้อเท็จจริงที่ว่า โปรแกรมประยุกต์นี้แพงพอกัน ส่วนใหญ่องค์กรที่ขนาดเล็ก และขนาดกลางมีไม่เคยคิดว่า การใช้ซอฟต์แวร์นี้ในระบบธุรกิจของพวกเขาเนื่องจากราคาของขนาดใหญ่ ทันที ERP แหล่งเปิดได้ถูกเปิดตัวในตลาด สิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก เนื่องจาก Open Source ERP จะสามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจของเซกเตอร์ขนาดเล็ก บริษัทขนาดเล็ก และขนาดกลางจำนวนมากได้เริ่มต้นเพื่อทำให้ใช้ซอฟต์แวร์นี้ เพิ่มเติม มีแอปพลิเคชันฟรีความต้องการสำหรับโปรแกรมประยุกต์นี้ได้เพิ่มมากขึ้น คุณลักษณะ ERP เหล่านี้ได้ระบุว่าบริษัทเพิ่มเติมเมื่อต้องการทดสอบในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ของตนเอง
หลายบริษัทจ่ายผลรวมขนาดใหญ่ของเงินเพื่อจัดหาลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์ ERP การรับบริการระดับมืออาชีพเป็นการใช้งานซอฟต์แวร์และการฝึกอบรมพนักงาน ใช้ ERP เป็นแหล่งเปิดไม่จำเป็นต้องใบอนุญาตหรือการดำเนินงาน มันสามารถแค่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต ติดตั้งในระบบธุรกิจของคุณ และเรียกใช้ การดาวน์โหลดและการติดตั้งกระบวนล่าสุดเพียงไม่กี่นาทีและ open source ERP จะเริ่มการทำงานให้คุณทันที แน่นอน ซอฟต์แวร์ ERP มีข้อดีและข้อเสียเป็นซอฟต์แวร์อื่น ๆ
หนึ่งในข้อเสียคือข้อ เท็จจริงที่บริษัทที่ใช้ Open Source ERP ไม่สามารถนำข้อดีของการบริการที่นำเสนอ โดยผู้ขายเนื่องจากบริษัทการจัดการธุรกิจของตนเองอย่างอิสระ ในกรณีนี้ ถ้ามีข้อผิดพลาดอย่างง่ายคือไม่ rectified ทันที สามารถมีลักษณะพิเศษที่ร้าย และมันสามารถพิสูจน์เป็น เรื่องราคาแพง เพิ่มเติม บริษัทจะไม่เสนอความช่วยเหลือมืออาชีพใด ๆ ดังนั้นมันจะบังคับให้เรียนรู้จากความผิดพลาดของ.

Open Source ERP เทคโนโลยีมีข้อจำกัดบางอย่าง ตัวอย่าง พวกเขาไม่พบความเกี่ยวข้องใด ๆ ในกิจกรรมบริษัททั้งหมด และจะไม่ใช้เมื่อมันมาเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติปกติ ไม่มีการแนะนำการใช้เทคโนโลยีเปิดแหล่งที่มา โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการระบบเก่าทำงาน จดลงในบัญชีผู้ใช้ชนิดนี้ของ ERP เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ว่าง และไคลเอนต์ไม่จำเป็นต้องการใช้ผลรวมขนาดใหญ่ของเงินจ่ายสำหรับมัน พวกเขาไม่คาดว่าจะการค้นหาคุณลักษณะทั้งหมดที่เรามักจะพบในซอฟต์แวร์ เซิร์ฟเวอร์ไคลเอ็นต์ ERP แบบดั้งเดิม แต่แม้ว่าขีดจำกัดของ Open Source ERP ยังคง เป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับบริษัทเหล่านั้นทั้งหมดที่พิจารณาที่นำมาบังคับใช้ และการใช้ซอฟต์แวร์นี้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจที่ต้นทุนต่ำกว่า

ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะด้าน มีอะไรบ้าง

ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User's Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือ ...

ซอฟต์แวร์ระบบคืออะไร มีอะไรบ้าง

1. ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX).
2. ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (LINUX).
3. ระบบปฏิบัติการวินโดวส์(Microsoft Windows).
4. ระบบปฏิบัติการ APPLE Mac OS X..
5. ระบบปฏิบัติการ Apple iOS..
6. ระบบปฏิบัติการ GOOGLE Android..
7. ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine).

โปรแกรม ประยุกต์ เฉพาะ งาน มี ลักษณะ อย่างไร

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน Application Software for Specific Purpose (แอพพลิเคชันซอฟต์แวร์ฟอซพิซีฟอิคเพอพัซ) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาเฉพาะงานนั้นๆ โดยจะสร้างขึ้นมาโดยผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นจริงๆหรือพัฒนาโดยฝ่ายไอทีขององค์กรนั้นๆที่ต้องการ เช่นโปรแกรมฝากถอนเงินของธนาคาร โปรแกรมคำนวนภาษีของกรมศุลกากร เป็นต้น

ซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาโดยมุ่งเน้นเพื่อการค้าเท่านั้นคือซอฟต์แวร์ประเภทใด

โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจำหน่าย (Commercial Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพื่อจำหน่ายและหากำไร ผู้ซื้อได้สิทธิในการใช้เท่านั้น โดยเจ้าของลิขสิทธิ์จะกำหนดเงื่อนไขหรือข้อจำกัดการใช้แตกต่างกันไป ดังนั้น ผู้ใช้จึงต้องอ่านสัญญาอนุญาต (License Agreement) อย่างละเอียดก่อนใช้ เจ้าของ ...