การแทรก layer และ scene คืออะไร

สมาชิก

นางสาว แสงฟอง วงส์มาก เลขที่ 37

เด็กหญิง อพัชนิภา ปุ๊ดภาษี เลขที่38

เด็กหญิง อรณิช โชคลิขิตอำนวย เลขที่ 39

เด็กชาย ทินภัทร จิตรถา เลขที่ 40

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3.9

หน่วยที่ 1 โปรแกรมสร้างการ์ตูนแอนนิเมชั่น Adobe Flash CS

1.ให้อธิบายความเป็นมาของโปรแกรม Flash CS

ตอบ Flash เริ่มมีชื่อเสียงประมาณปี ค.ศ. 1996 หลังจากนั้น เทคโนโลยี Flash ได้กลายมาเป็นที่นิยมในการเสนอแอนิเมชัน และอินเตอร์แอกทีฟในเว็บเพจ และในโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมระบบ และ เครื่องมือต่างๆ ที่มีความสามารถในการแสดง Flash ได้ และ Flash ยังเป็นที่นิยมในการใช้สร้าง เกมคอมพิวเตอร์ แอนิเมชันโฆษณา ออกแบบส่วนต่างๆ ของเว็บเพจใส่วิดีโอบนเว็บ และอื่นๆ อีกมากมาย

http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=aircomsci-49&date=25-08-2009&group=1&gblog=1

2.นักเรียนบอกสาเหตุที่ขนาดของ Flash มีขนาดเล็กกว่าแฟ้มทั่วไป

ตอบ สาเหตุที่ทำให้ไฟล์มัลติมีเดียที่สร้างโดย Flash มีขนาดเล็กมาก เมื่อเทียบกับไฟล์มัลติมีเดีย ประเภทอื่น เป็นเพราะรูปแบบการเก็บรายละเอียดของรูปแบบลายเส้น ในขณะที่โปรแกรมอื่น ๆ จะบันทึกรายละเอียด ของรูปทุก Pixels จะเห็นว่าลักษณะภาพ ที่เหมาะสำหรับใช้กับโปรแกรม Flash ควรเป็นภาพแนวการ์ตูน ที่เน้นลายเส้นและใช้สีค่อนข้างสม่ำเสมอ ซึ่งเราจะเห็นได้ว่า ในงานมัลติมีเดียที่เป็น Flash ส่วนใหญ่จะเป็นแนวลายเส้นง่าย ๆ โดยมีการใช้ภาพถ่ายผสมเท่าที่จำเป็นเท่านั้น

http://www.stv.ac.th/Animation/beachresort/b1-content.html

3.บอกความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ที่จะใช้โปรแกรม Adobe Flash CS

ตอบ - ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows 95, NT 4.0 หรือสูงกว่าหรือเครื่องแมคอินทอช PowerPC ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ System 8.1 หรือสูงกว่า

-ถ้าใช้เบราเซอร์จากค่าย Netscape ควรเป็น Netscape 3 หรือสูงกว่า ที่ติดตั้ง Plugin พร้อมใช้

-งาน ถ้าใช้เบราเซอร์จากค่าย Microsoft ควรเป็น IE 3.02 หรือสูงกว่า ที่ติดตั้ง Plugin

พร้อมใช้งาน

https://www.google.co.th

4.อธิบายการติดตั้งโปรแกรม Adobe Flash CS

ตอบ 1.ดับเบิลคลิกที่ตัวติดตั้งโปรแกรม

2.จะปรากฏหน้าต่างข้อตกลงของโปรแกรมให้คลิก Accept

3.คลิกเลือกภาษาที่ใช้ในการติดตั้งโปรแกรมจากนั้นคลิกปุ่ม Next

4.โปรแกรมกำลังติดตั้ง

5.กำหนดตำแหน่งในการติดตั้งโปรแกรม แล้วคลิกปุ่ม Install

6.หลังจากติดตั้งโปรแกรมเสร็จเรียบร้อยแล้วให้คลิกปุ่ม Close

http://sudarataekkachaiadobeflash.blogspot.com/2014/01/2211-flash-cs5.html

หน่วยที่ 2 ส่วนประกอบและเครื่องมือ Adobe Flash CS

ส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม Adobe Flash CS

ประกอบด้วย 1. Menu Bar (เมนูบาร์) เป็นส่วนสำหรับแสดงรายการคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม

2. Stage (สเตจ) เป็นส่วนที่เรากำหนดขอบเขตขนาดของการทำงาน เป็นพื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุต่างๆ หรืออาจจะเรียกว่า "เวที" เมื่อมีการนำเสนอผลงานจะแสดงเฉพาะวัตถุบน Stage นี้เท่านั้น

3. Properties (พร็อพเพอร์ตี้) เป็นส่วนกำหนดคุณสมบัติให้กับวัตถุต่างๆ ที่เราใช้งาน ทั้งการกำหนดค่าต่างๆ หรือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขวัตถุไหนก็นำเมาส์ไปคลิกที่วัตถุนั้นก่อน

4.Timeline (ไทม์ไลน์) มีไว้สำหรับควบคุมการทำงานและกำหนดการนำเสนอผลงาน ตลอดจนการเคลื่อนไหวต่างๆ

5. Toolbox (ทูลบ๊อกซ์) เป็นกลุ่มของเครื่องมือในการสร้างงานและจัดการวัตถุต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยปุ่มเครื่องมือย่อยต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างงาน

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของแถบเครื่องมือ(Tool Bar)

  • Standard Toolbar เป็น Toolbar ที่รวบรวมเครื่องมือต่างๆใช้ในการจัดการกับไฟล์และข้อมูลจะมีลักษณะเช่นเดียวกับโปรแกรมพื้นฐานทั่วไป
  • Insert Toolbar เป็ น Toolbar ที่ใช้ส าหรับแทรก(Insert) อ็อบเจ็กต์ต่างๆเช่น ข้อความ (Text) รูปภาพ (Image) และ ปุ่ ม(Button)
  • Control Toolbar เป็ น Toolbar ที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุม Movie
  • Grouping Toolbar เป็ น Toolbar ที่รวบรวมเครื่องมือต่างๆเกี่ยวกับการจัดกลุ่มการแปลและการแบ่งแยกอ็อบเจ๊กต์
  • Export Toolbar เป็ น Toolbar ที่รวบรวมเครื่องมือส าหรับการแปลงไฟล์ Movie และการทดสอบ ผลลัพธ์

http://11he.blogspot.com/2012/08/adobe-photoshop.html

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของกล่องเครื่องมือ(Tool Box)พร้อมภาพประกอบ

Marquee Tools เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเลือกพื้นที่ ของภาพตามต้องการ โดยมีให้เลือกโดยการคลิ๊กเม้าส์ค้างตรงรูปสามเหลี่ยมเล็กๆด้านข้าง โดยจะมีแบบให้ เลือก ทั้งสี่เหลี่ยม วงรี เส้นนอน เส้นตั้ง

Move Tool เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายภาพ หรือบนชั้น Layer ที่เรากำลังทำงานอยู่ไปในตำแหน่งต่างๆ

Lasso Tools เป็นอุกรณ์ที่ใช้ในการเลือกพื้น ที่การทำงานแบบอิสระโดยเริ่มจากพื้นที่จากจุดเริ่มจน วนมาพบกันอีกครั้ง โดยตัดในลักษณะใดก็ได้รูปแบบ ใดก็ได้..แล้วต้องกลับมาบรรจบที่จุดเริ่มต้นกันอีกครั้ง ซึ่งจะเกิดเส้น Selection ขึ้นมา

Magic Wand Tool เป็นอุปกรณ์ให้เลือกพื้นที่ การทำงานเช่นกันโดยจะเลือกพื้นที่ที่มีสีโทนเดียวกันหรือมีสีโทนคล้ายๆกัน..ใช้ในการสร้างเส้น.. Selcetion เฉพาะพื้นที่

Crop Tool เป็นอุปกรณ์ในการเลือกพื้นที่ ที่ต้องการคงไว้ และตัดออก ซึ่งมีผลกับ Image size ด้วย

Slice Tool เป็นอุปกรณ์ในการตัดรูปภาพออกเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วประกอบกันเป็นรูปภาพที่เหมาะสมในการแสดงบนเว็บ เมื่อตัดแล้วสามารถ Save เป็น HTML ได้ด้วย

Healing BrushTool เป็นอุปกรณ์ใช้ในการแก้ไข ซ่อมแซมรูปภาพเป็นส่วนใหญ่ หลักการเดียวกับ อุปกรณ์ ( Clone stemp Tool )

Brush Tools เป็นอุปกรณ์สำหรับการ วาดภาพและระบายสีซึ่งลักกษณะการใช้งานจริง ๆ จะมีให้เลือกใช้หลายตัว

Clone stamp Tool ลักษณะในการใช้ก็คล้าย กับตรายาง เป็นการคัดลอกชิ้นงานออกมา ลักษณะการใช้งานก็ไปคลิ๊กที่รูปภาพโดยให้กดปุ่ม Alt ค้างไว้ด้วยพูดอีกอย่างเป็นการโคลนนิ่งภาพนั้นเอง

History Brush Toolเป็นอุปกรณ์สำหรับการลบรอยวาดภาพและระบายสีของอุปกรณ์ Brush Tools ที่เขียนลงบนภา

Eraser Tool ทำหน้าที่คล้าย..ยางลบนั้น แหละใช้ลบส่วนต่างๆของภาพที่เราไม่ต้องการ

Linear Gradient Tool เป็นการระบายสีภาพโดย การไล่เฉดสีที่เราต้องการเมื่อดับเบิ้ลคลิ๊กจะมีให้ เลือกหลายลักษณะตามที่เราต้องการ อุปกรณ์ถังสี ( Paint Bucket Tool ) ใช้ในการเท หรือละเลงสีระบายลง บนภาพหรือพื้นที่ที่ได้เลือกไว้ เหมาะกับการเทลงพื้นที่ขนาดกว้าง

Blur Tool เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับปรับค่า ความคมชัดของสีภาพ ซึ่งจะประกอบด้วย Blur, Sharpen เลือกโดยการคลิกเม้าค้างไว้

Dodge Tool ใช้ในการปรับค่าโทนสีของภาพให้สว่างหรือมืด ซึ่งจะมีเครื่องมือให้เลือกอีกคือ Dodge,Burn,Sponge

Path Selection Tool เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้โยกย้าย ปรับแต่งเส้น พาทที่สร้างจาก อุปกรณ์ปากกา ( Pen tool )

Type Tool เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญและใช้บ่อยด้วย ใช้สำหรับสร้างตักอักษรซึ่งสามารถนำมาจัดประกอบ ภาพได้ทันที โดยคุณสามารถเลือกสีได้ด้วยและมีให้ เลือก 2 แบบ ได้แก่ การสร้างตัวอักษรทึบและแบบ โปร่งเพื่อเติมสีทีหลังเหมาะสำหรับจะนำภาพ มาสร้างตัวอักษร

Pen tool ใช้ในการสร้างเส้นภาพสำหรับวาดภาพซึ่งจะสร้างเส้นตรงก่อนแล้วดัดให้ โค้งตามต้องการ

Shape tool เป็นอุปกรณ์สร้างรูปทรงต่างๆ มีให้เลือกมากมาย

Notes Tool อุปกรณ์เตือนความจำ เป็นอุปกรณ์บันทึกโน้ตย่อการทำงาน หรือจะบันทึกเสียงลงไปในโน้ตก็ทำได้

Eyedropper Tool เป็นเครื่องมือในการดูดสีที่มีอยู่ในภาพเพื่อนำสีนั้นไปใช้ในบริเวณอื่นโดยจะถือเป็น Foreground Corlor

Hand Tool เป็นเครื่องมือใช้เลื่อนภาพบนจอ จะสามารถใช้ได้ก็ต่อเมื่อเราได้ขยายภาพล้นหน้าจอ แล้วเท่านั้น

Zoom Tool อุปกรณ์แว่นขยายใช้ในกรณีที่เราต้องการ ที่จะย่อ / ขยายภาพในจอ หรือ ขยายเพื่อจะได้ทำ ได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น

อุปกรณ์ Foreground และ Background เป็นอุปกรณ์เลือกสี

Jump to ImageReady เป็นอุปกรณ์ใช้ Jump ไปหาโปรแกรม ImageReady

เราแบ่งไทมไลน์เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่

  • ส่วนแสดงเลเยอร์ (Layer) ซึ่งแต่ละเลเยอร์เปรียบเหมือนแผนใสที่สามารถวางภาพหรือออบเจ็กต์ได้ โดยแต่ละเลเยอร์นั้นแยกเป็นอิสระต่อกัน แต่ประกอบกันเป็นชันงานเดียว
  • ส่วนเฟรม (Frame) ที่แสดงช่องเฟรมต่างๆ ซึ่งทำงานเหมือนกับเฟรมที่ประกอบกันเป็นภาพยนตร์โดยเมื่อมีการนำเฟรมเหล่านี้มาแสดงอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้ Frame จะแสดงผลอ ทีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead) ที่เป็นส้นสีแดงคอยบอกตำแหน่งว่ากำลังทำงานอยู่ที่เฟรมใด

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/03/04-1.html

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของเส้นแบ่งเวลา(Time line)

ไทมไลน์หรือเส้นเวลา จะใช้สำหรับสร้างและกำหนดรายละเอียดของการเคลื่อนไหวโดยเอาองค์ประกอบที่จะเคลื่อนไหว (เราเรียกองค์ประกอบต่างๆ ในชิ้นงาว่าออบเจ็กต์หรือวัตถุ) มาจัดวางต่อกันละภาพในแต่ละช่วงเวลา (เรียกว่าเฟรม: Frame) ที่แสดงเป็นภาพเคลื่อนไหว โดยเราจะกำหนดเส้นเวลาให้เล่นภาพเคลื่อนไหวซ้ำๆ หรือเล่นแล้วหยุดก็ได้

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/03/04-1.html

เราสามารถเปิด/ปิดไทมไลน์นี้ได้โดยคำสั่ง View > Thmeline ให้มีเครื่องหมาย

ถูกอยู่หน้าคำว่า Thmeline เพื่อเปิดไทมไลน์ และใช้คำสั่ง View > Thmeline อีกครั้งยกเลิกเครื่องหมายถูก

เพื่อปิดไทมไลน์ซึ่งเราอาจเปรียบการทำงานของไทมไลน์เหมือนกับม่วนฟิลม์ ในขณะที่สเตจคือส่วนที่แสดงแต่ละเฟรมในม้วนฟิลม์นั้นตามลำดับที่กำหนดไว้

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/03/04-1.html

การแทรก Layer และ Scene

โดยทั่วไปแล้วในหนึ่ง Scene สามารถประกอบ ด้วยหลาย Layer ซึ่ง Layer ที่ลำดับบนสุดคือ ตำแหน่งฉากที่แสดงอยู่เหนือสุด ของชิ้นงาน การแทรก Layer สามารถทำได้โดยคลิกเลือก ที่ Layer ใดก็ได้และคลิกขวาเลือกคำสั่ง Insert Layer ส่วนการแทรก Scene เลือกเมนู Insert > Scene

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/03/04-1.html

การลบ Layer และ Scene

การลบ Layer สามารถทำได้โดยโดยคลิกเลือกที่ Layer ที่ต้องการลบและคลิกขวาเลือกคำสั่ง Delete Layerการลบ Scene จะต้องทำการเรียกใช้พาเนล Scene มาก่อนเพื่อง่ายต่อการจัดการ Scene โดยเลือกที่เมนูคำสั่ง Window > Other Panel > Scene หากต้องการลบ Scene คลิกซ้ายค้างไว้เลือก Scene ที่ต้อง การลบแล้วลากมาวางลงในถังขยะ

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/03/04-1.html

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของหน้าต่างการทำงาน(Stage)

Stage เป็นชื่อเรียกพื้นที่สร้างภาพกราฟิกของ Flash นับเป็นพื้นที่สำคัญในการสร้างสรรค์

งานกราฟิก หรือสร้าง Movie มีลักษณะเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมสีขาวล้อมด้วยกรอบสีเทา ภาพกราฟิก

หรือวัตถุใดๆ สามารถวางได้บนพื้นที่สีขาว และสีเทา แต่เมื่อสั่งนำเสนอผลงาน เฉพาะภาพกราฟิก

หรือวัตถุที่วางบนพื้นที่สีขาวเท่านั้น ที่จะแสดงผล

ขนาดของ Stage

ขนาดของ Stage จะหมายถึงพื้นที่การแสดงผลของ Movie นั่นเอง ดังนั้นก่อนสร้างงานควร

กำหนดขนาดของ Stage ให้เหมาะสมและตรงกับการใช้งานจริง การกำหนดขนาดของ Stage กระทำได้โดย

• เลือกคำสั่ง File, New… เพื่อเข้าสู่โหมดการสร้าง Movie

• คลิกเลือกคำสั่ง Modify, Document…

https://sites.google.com/site/m610n11/withi-kar-chi-por-kaem-adobe-flash-player/stage-khux

• กำหนดค่าความกว้าง ความสูงของ Stage (หน่วยปกติจะเป็น pixel) จากรายการ Dimensions:o กรณีที่มีข้อมูลบน Stage สามารถคลิกปุ่ม Match: Printer หรือ Contents เพื่อให้Flash ปรับขนาดให้เหมาะสมกับข้อมูลโดยอัตโนมัติ

• เลือกสีพื้นของ Stage จากตัวเลือก Background color:

• รายการ Frame rate: เป็นหน่วยวัดการสร้างภาพเคลื่อนไหว

• Ruler units: หน่วยวัดของไม้บรรทัด และหน่วยวัดการสร้างวัตถุต่างๆ แนะนำให้ใช้หน่วยเป็น pixels

https://sites.google.com/site/m610n11/withi-kar-chi-por-kaem-adobe-flash-player/stage-khux

การกำหนดขนาดและคุณสมบัติอื่นๆ ของ Stage ยังสามารถเลือกได้จาก Properties Panel

โดยต้องอยู่ในโหมดการใช้เครื่องมือ Selection

https://sites.google.com/site/m610n11/withi-kar-chi-por-kaem-adobe-flash-player/stage-khux

Ruler, Grid, Guides

เครื่องมือช่วยกำหนดขอบเขต และวางตำแหน่งการสร้างกราฟิกบนStage โดย

• Ruler แถบไม้บรรทัดจะปรากฏที่ขอบด้านซ้าย และด้านบนของ Stage สามารถเปิด/ปิดได้จากคำสั่ง View, Rulers

• Grid มีลักษณะเป็นตารางตาหมากรุก ที่แบ่งเป็นช่องเล็ก ช่วยในการกำหนดตำแหน่งในการสร้าง ย่อ/ขยาย หรือเคลื่อนย้ายวัตถุบน Stage สามารถเปิด/ปิดได้จากคำสั่ง View, Grids, Show Gridsโดยปกติขนาดของช่องตารางจะมีค่าเท่ากับ 18 × 18 pixels ซึ่งปรับแต่งได้จากคำสั่ง View,Grids, Edit Grid…

https://sites.google.com/site/m610n11/withi-kar-chi-por-kaem-adobe-flash-player/stage-khux

Guide มีลักษณะเป็นเส้นตรงที่ผู้ใช้สามารถกำหนดตำแหน่ง เพื่อช่วยในการกะระยะต่างๆช่วยในการวาดภาพ เคลื่อนย้ายตำแหน่งลักษณะเดียวกับกริด แต่มีความอิสระมากกว่า โดยการทำงานจะต้องอยู่ในสภาวะการเปิดใช้งาน Ruler ก่อนเสมอ จากนั้นนำเมาส์ไปชี้ในแถบไม้บรรทัด(ด้านใดก็ได้) กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ เมื่อลากเมาส์จะปรากฏเส้นตรงสีเขียววาง ณ ตำแหน่งที่ปล่อยเมาส์การปรับย้ายตำแหน่งเส้นไกด์ กระทำได้โดยคลิกเลือกเครื่องมือ Move แล้วนำเมาส์ไปชี้ที่เส้น

https://sites.google.com/site/m610n11/withi-kar-chi-por-kaem-adobe-flash-player/stage-khux

คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับแถบไม้บรรทัด, Grids และไกด์ คือคำสั่ง Snap to… ซึ่งมีหลายคำสั่งเช่น

• Snap to Grids ช่วยให้การวาด/สร้างวัตถุ, การย่อขยาย หรือย้ายตำแหน่งอิงเส้นกริดที่กำหนดไว้

• Snap to Guides ช่วยให้การวาด/สร้างวัตถุ, การย่อขยาย หรือย้ายตำแหน่งอิงเส้นไกด์ที่กำหนดไว้

• Snap to Objects ช่วยให้การวาด/สร้างวัตถุ, การย่อขยาย หรือย้ายตำแหน่งอิงจุดกึ่งกลาง (Center Point) ของวัตถุ

https://sites.google.com/site/m610n11/withi-kar-chi-por-kaem-adobe-flash-player/stage-khux

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของหน้าต่างควบคุมการแสดงผล(Panel)พร้อมภาพประกอบ

ใน Flash MX จะมีหน้าต่างหรือ Panel ที่รวบรวมเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้งานกับวัตถุ โดยจะถูกจัดไว้ที่บริเวณ ด้านขวาของโปรแกรม ทา ให้เราไม่ต้องเสียเวลาไปเปิดหาและมีการจัดเป็นหมวดหมู่ไว้แล้ว นอกจากนี้ยังสามารถที่จะระบุ และขยายหน้า ต่างเพื่อให้ใช้พื้นที่ได้เต็มที่โดยมีหน้าต่างที่สำคัญ

https://www.google.co.th

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของปุ่มขยายขนาด(Zoom)

ปุ่มขยายขนาด (Zoom) เป็นปุ่มควบคุมที่ทา หนา้ที่ขยายขนาดพ้ืนที่ในการทา งานหรือ Stage นอกจากน้นั เรายงัสามารถกา หนดขนาดเอง ได้และมีคา สั่งเพิ่มเติมอีก2 คา สั่งคือ

https://www.google.co.th

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของแก้ไขซีน(Edit Scene)พร้อมภาพประกอบ

คือ ฉากหรือตอนของมูฟวี่ เปรียบได้กับฉากหนึ่ง ๆ ในภาพยนตร์หรือละคร ซึ่งจะมีการเปลี่ยนสถานที่เกิดเหตุการณ์และตัวละครที่แตกต่างกันไป โดยแต่ละซีนจะมีไทม์ไลน์ของตัวเอง ประโยชน์ของการแบ่งซีนใน Flash ก็เพื่อช่วยลดความสับสนในกรณีที่มูฟวี่มีความยาวมาก ๆ ทำให้ง่ายต่อการสร้าง จัดการ และแก้ไข ในมูฟวี่ที่มีหลายซีน Flash จะเล่นแต่ละซีนเรียงกันไปตามลำดับโดยอัตโนมัติ ยกเว้นจะมีการใช้คำสั่ง ActionScript ควบคุมให้เป็นอย่างอื่น โดยปกติเมื่อเปิดโปรแกรม Flash ขึ้นมา โปรแกรมจะทำการกำหนดให้ทำงานอยู่ใน Scene 1 อย่างอัตโนมัติ

http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Flash/chapter9.html

หน้าต่างซีน (Scene Window)

การเรียกใช้หน้าต่าง Scene มีประโยชน์มากสำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย Scene โดยจะสามารถเพิ่ม Scene ใหม่ คัดลอก Scene เปลี่ยนชื่อ Scene หรือ ลบ Scene ได้อย่างรวดเร็ว วิธีการเปิดหน้าต่าง Scene ทำได้โดยใช้เมาส์คลิกที่เมนู Window > Other Panels > Scene หรือกดปุ่ม <Shift+F2> บนคีย์บอร์ด จะเกิดหน้าต่าง Scene

การเพิ่ม Scene

การเพิ่ม Scene ใหม่เข้าไปมีด้วยกันหลายวิธี แต่การเพิ่ม Scene ในหน้าต่าง Scene เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด เพราะนอกจากจะเพิ่ม Scene แล้ว ยังมากสามารถจัดการกับ Scene ได้อย่างสะดวกอีกด้วย วิธีการเพิ่ม Scene ใหม่ มีดังนี้

1. ที่หน้าต่าง Scene ใช้เมาส์กดปุ่ม +

2. จะ้มี Scene ใหม่เพิ่มขึ้นมาชื่อว่า Scene 2

http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Flash/chapter9.html

การลบ Scene

การลบ Scene ที่ไม่ต้องการใช้งาน สามารถทำได้ดังนี้

1. ที่หน้าต่าง Scene ใช้เมาส์คลิกเลือกชื่อ Scene ที่ต้องการลบ

2. จากนั้นใช้เมาส์คลิกที่รูปถังขยะ 1 ครั้ง

3. จะเกิดหน้าต่างถามยืนยันการลบ Scene ให้คลิกปุ่ม OK เพื่อยืนยันการลบ Scene

http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Flash/chapter9.html

การเปลี่ยนชื่อ Scene

การเปลี่ยนชื่อ Scene มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ชื่อ Scene มีความสอดคล้องกับชิ้นงานบนสเตจ โดยการเปลี่ยนชื่อ Scene สามารถทำได้ดังนี้

1. ที่หน้าต่าง Scene ใช้เมาส์ดับเบิ้ลคลิกชื่อ Scene ที่ต้องการเปลี่ยนชื่อ

2. พิมพ์ชื่อใหม่ต้องการลงในช่องที่ดับเบิ้ลคลิก เมื่อเสร็จเรียบร้อยกดปุ่ม <Enter> Scene จะ้ถูกเปลี่ยนชื่อตามต้องการ

http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Flash/chapter9.html

การคัดลอก Scene

1. ที่หน้าต่าง Scene ใช้เมาส์คลิกเลือกชื่อ Scene ที่ต้องการคัดลอก จากนั้นใช้เมาส์คลิกปุ่ม Duplicate Scene

2. จะปรากฏ Scene ใหม่ ดังรูป ซึ่ง Scene ใหม่ที่ได้จะมีคุณสมบัติเหมือนกับต้นฉบับทุกประการ

http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Flash/chapter9.html

13.วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของแก้ไขเวที(Edit Stage)

เป็ นหน้าต่างในการท างานของเรา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเวที (Stage) ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ว่าง ๆ สา หรับการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว (Animation) โดยให้เราเป็ นผู้ก ากับการแสดง เมื่อเราสร้างงานหรือวางวัตถุบน Stage เราจะเรียกภาพรวมน้ี ว่า Scene

https://www.google.co.th

วิธีการใช้ส่วนประกอบต่างๆของการ Importไฟล์

1. เลือก File Import

2. เลือกไฟล์ภาพที่เราต้องการ

3. Click mouse ปุ่ม open เพื่อนา ไฟลน์นั้นเข้ามาใช้งาน

การ Import ไฟล์แบบต่อเนื่อง

https://www.google.co.th

หากไฟล์ที่เราจะ Import เข้ามามีตัวเลขต่อท้ายมาหลาย ๆ อันดับ เช่น Clip01.jpg, Clip02.jpg, Clip03.jpg … เป็ น ต้น ถ้าเราจะ Import ไฟล์ชื่อ Clip01.jpg และมีไฟล์ Clip02.jpg, Clip03.jpg อยู่ด้วย Flash ก็จะถามเราโดยอัตโนมัติว่า ต้องการจะ Importไฟล์อื่น ๆ เข้ามาด้วยหรือไม่ ถ้าต้องการก็ Click mouse ปุ่ ม โปรแกรมก็จะท าการ Import ไฟล์มา ซึ่งการ Import ไฟล์แบบต่อเนื่องจะช่วยเราในการสร้างภาพเคลื่อนไหว

หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียง

1.เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง

ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนวทางการดำเนินชีวิตให้แก่ปวงชนชาวไทยมาเป็นระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแต่ก่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ

ประกอบด้วย หลัก3ห่วง2เงื่อนไข

3ห่วง คือ ความสุข ห่วงที่1คือพอประมาณ ห่วงที่2 คือ มีเหตุผล ห่วงที่3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง

2เงื่อนไข คือ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

เงื่อนไขที่1 คือ เงื่อนไขความรู้

เงื่อนไขที่2 คือ เงื่อนไขคุณธรรม

ให้นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งที่นักเรียนทำเกี่ยวกับ

เศรษฐกิจพอเพียง4ข้อ แต่ละข้อให้อธิบายเหตุผลตาม3ห่วง2เงื่อนไข

การเลือกซื้อสิ่งของ

ในการซื้อสิ่งของใดๆเราจำเป็นต้องคิดให้ดีก่อนซื้อ

https://www.google.co.th

การตัดสิ้นใจ

การมีเหตุผลและมีสิติต่างๆโดยเฉพาะการเชื่อโฆษณาทางสื่อต่างๆเราควรพิจารณาให้ดี

https://www.google.co.th

ปลูกผัก

หากเหลือนำไปแจกหรือขายเพื่อกำไลพร้อมทั้งเก็บออมอย่างประหยัด

https://www.google.co.th

ตั้งใจเรียน

การตั้งใจเรียนทำให้เรามีความรู้ในด้านต่างๆในการดำเนินชีวิตประจำวัน

https://www.google.co.th

บรรณานุกรม(หน่วย 1)

บรรณานุกรม(หน่วยที่2)

บรรนานุกรม (หน่วย 3)