ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device

"อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง" เชื่อมต่ออุปกรณ์และพาหนะด้วยเซ็นเซอร์อิเล็กทรอนิกส์และอินเทอร์เน็ต

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (อังกฤษ: Internet of Things) หรือ ไอโอที (IoT) หมายถึงเครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งปลูกสร้าง และสิ่งของอื่นๆ ที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ฝังตัวอยู่ และทำให้วัตถุเหล่านั้นสามารถเก็บบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้[1] อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งทำให้วัตถุสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกลผ่านโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายที่มีอยู่แล้ว[2] ทำให้เราสามารถผสานโลกกายภาพกับระบบคอมพิวเตอร์ได้แนบแน่นมากขึ้น ผลที่ตามมาคือประสิทธิภาพ ความแม่นยำ และประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น[3][4][5][6][7][8] เมื่อ IoT ถูกเสริมด้วยเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ซึ่งสามารถเปลี่ยนลักษณะทางกลได้ตามการกระตุ้น ก็จะกลายเป็นระบบที่ถูกจัดประเภทโดยทั่วไปว่าระบบไซเบอร์-กายภาพ (cyber-physical system) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีอย่าง กริดไฟฟ้าอัจริยะ (สมาร์ตกริด) บ้านอัจฉริยะ (สมาร์ตโฮม) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (อินเทลลิเจนต์ทรานสปอร์ต) และเมืองอัจฉริยะ (สมาร์ตซิตี้) วัตถุแต่ละชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ้ำกันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว และสามารถทำงานร่วมกันได้บนโครงสร้างพื้นฐานอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่ายของสรรพสิ่งจะมีวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้นภายในปี 2020[9] มูลค่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 80 พันล้านเหรียญ[10]

"สรรพสิ่ง" ในความหมายของ IoT สามารถหมายถึงอุปกรณ์ที่แตกต่างหลากหลาย เช่น อุปกรณ์วัดอัตราหัวใจแบบฝังในร่างกาย แท็กไบโอชิปที่ติดกับปศุสัตว์ ยานยนต์ที่มีเซ็นเซอร์ในตัว อุปกรณ์วิเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งแวดล้อมหรืออาหาร[11] หรืออุปกรณ์ภาคสนามที่ช่วยในการทำงานของนักผจญเพลิงในภารกิจค้นหาและช่วยเหลือ[12] อุปกรณ์เหล่านี้จะจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ด้วยการใช้เทคโนโลยีหลากหลายชนิดและจากส่งต่อข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อื่นๆ โดยอัตโนมัติ[13][14] ตัวอย่างในตลาดขณะนี้ เช่น เทอร์โมสตัตอัจฉริยะ และเครื่องซักผ้า-อบผ้าที่ต่อกับเครือข่ายไวไฟเพื่อให้สามารถดูสถานะจากระยะไกลได้

รายการต่อไปนี้แสดงรายชื่อประเทศตามจำนวนอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งที่ออนไลน์อยู่ ต่อประชากร 100 คน ตามที่เผยแพร่โดย OECD ในปี 2015[15]

อันดับประเทศอุปกรณ์ออนไลน์ขนาดโดยเปรียบเทียบ
1
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
เกาหลีใต้
37.9
2
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
เดนมาร์ก
32.7
3
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
สวิตเซอร์แลนด์
29.0
4
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
สหรัฐ
24.9
5
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
เนเธอร์แลนด์
24.7
6
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
เยอรมนี
22.4
7
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
สวีเดน
21.9
8
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
สเปน
19.9
9
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
ฝรั่งเศส
17.6
10
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
โปรตุเกส
16.2
11
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
เบลเยียม
15.6
12
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
สหราชอาณาจักร
13.0
13
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
แคนาดา
11.6
14
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
อิตาลี
10.2
15
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
บราซิล
9.2
16
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
ญี่ปุ่น
8.2
17
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
ออสเตรเลีย
7.9
18
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
เม็กซิโก
6.8
19
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
โปแลนด์
6.3
20
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
จีน
6.2
21
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
โคลอมเบีย
6.1
22
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
รัสเซีย
4.9
23
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
ตุรกี
2.3
24
ข้อใดคืออุปกรณ์ไอโอที iot device
 
อินเดีย
0.6

อ้างอิง[แก้]

  1. "Internet of Things Global Standards Initiative". ITU. สืบค้นเมื่อ 26 June 2015.
  2. https://hbr.org/resources/pdfs/comm/verizon/18980_HBR_Verizon_IoT_Nov_14.pdf
  3. http://www.internet-of-things-research.eu/pdf/Converging_Technologies_for_Smart_Environments_and_Integrated_Ecosystems_IERC_Book_Open_Access_2013.pdf
  4. http://www.cisco.com/web/solutions/trends/iot/introduction_to_IoT_november.pdf
  5. http://cordis.europa.eu/fp7/ict/enet/documents/publications/iot-between-the-internet-revolution.pdf
  6. http://www.vs.inf.ethz.ch/publ/papers/Internet-of-things.pdf
  7. http://www.cognizant.com/InsightsWhitepapers/Reaping-the-Benefits-of-the-Internet-of-Things.pdf
  8. "The Supply Chain: Changing at the Speed of Technology". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-22. สืบค้นเมื่อ 2015-09-18.
  9. Dave Evans (April 2011). "The Internet of Things: How the Next Evolution of the Internet Is Changing Everything" (PDF). Cisco. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-06. สืบค้นเมื่อ 4 September 2015.
  10. Toptal - หน้าแรกสมาร์ท: การท่องเที่ยวทางอินเทอร์เน็ตของสิ่งต่างๆ
  11. Erlich, Yaniv (2015). "A vision for ubiquitous sequencing". Genome Research. 25 (10): 1411–1416. doi:10.1101/gr.191692.115. ISSN 1088-9051.
  12. I. Wigmore: "Internet of Things (IoT)". TechTarget, June 2014.
  13. Farooq, M.U.; Waseem, Muhammad; Khairi, Anjum; Mazhar, Sadia (2015). "A Critical Analysis on the Security Concerns of Internet of Things (IoT)". International Journal of Computer Applications (IJCA). 11: 1–6. doi:10.5120/19547-1280.
  14. Hendricks, Drew. "The Trouble with the Internet of Things". London Datastore. Greater London Authority. สืบค้นเมื่อ 10 August 2015.
  15. "Figure 6.6 Devices online per 100 inhabitants, top OECD countries". doi:10.1787/888933225312.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Zanella, Andrea; Bui, Nicola; Castellani, Angelo; Vangelista, Lorenzo; Zorzi, Michele. "Internet of Things for Smart Cities". IEEE Internet of Things Journal, VOL. 1, NO. 1, FEBRUARY 2014.
  • Guinard, Dominique; Vlad, Trifa (2015). Building the Web of Things. Manning. ISBN 9781617292682.
  • Atzori, Luigi; Iera, Antonio; Morabito, Giacomo. "The internet of things: A survey" (PDF). Computer Networks, Elsevier, The Netherlands, 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-10-21. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Carsten, Paul (2015). "Lenovo to stop pre-installing controversial software". Reuters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-19. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Chaouchi, Hakima. The Internet of Things. London: Wiley-ISTE, 2010.
  • Chabanne, Herve, Pascal Urien, and Jean-Ferdinand Susini. RFID and the Internet of Things. London: ISTE, 2011.
  • "Disruptive Technologies Global Trends 2025" (PDF). U.S. National Intelligence Council (NIC).
  • Fahrion, Mike (2015). "Internet of Things for the Modern M2M". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-09. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Fell, Mark (2014). "Roadmap for the Emerging Internet of Things - Its Impact, Architecture and Future Governance" (PDF). Carré & Strauss, United Kingdom.
  • Fell, Mark (2013). "Manifesto for Smarter Intervention in Complex Systems" (PDF). Carré & Strauss, United Kingdom.
  • Jayavardhana Gubbi; Rajkumar Buyya; Slaven Marusic; Marimuthu Palaniswami (September 2013). "Internet of Things (IoT): A Vision, Architectural Elements, and Future Directions" (PDF). Future Generation Computer Systems, Elsevier, The Netherlands.
  • Hersent, Olivier, David Boswarthick and Omar Elloumi. The Internet of Things: Key Applications and Protocols. Chichester, West Sussex: Wiley, 2012.
  • Howard, Philip. "Pax Technica: Will The Internet of Things Lock Us Up or Set Us Free?". Yale University Press, New Haven CT, 2015.
  • "Internet of Things in 2020: A Roadmap for the future" (PDF). EPoSS. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-02-11. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Ishaq, Isam; Carels, David; Teklemariam ,Girum K.; Hoebeke, Jeroen; Van den Abeele, Floris; De Poorter, Eli; Moerman, Ingrid; Demeester, Piet (2013). "IETF Standardization in the Field of the Internet of Things (IoT): A Survey". Journal of Sensor and Actuator Networks, Multidisciplinary Digital Publishing Institute.
  • IERC - European Research Cluster on the Internet of Things: Documents and Publications
  • Michahelles, Florian, et al. Proceedings of 2012 International Conference on the Internet of Things (IOT) : 24–26 October 2012 : Wuxi, China. Piscataway, N.J.: IEEE, 2012.
  • "What is the Internet of Things? An Economic Perspective" (PDF). Auto-ID Labs. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-06-02. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
  • Pfister, Cuno. Getting Started with the Internet of Things. Sebastapool, Calif: O'Reilly Media, Inc., 2011.
  • Stark, John (2015). Product Lifecycle Management: Volume 2. The Devil is in the Details. Appendix B: PLM and the Internet of Things (IoT). Springer. ISBN 978-3-319-24434-1.
  • Uckelmann, Dieter, Mark Harrison and Florian Michahelles. Architecting the Internet of Things. Berlin: Springer, 2011.
  • Weber, Rolf H., and Romana Weber. Internet of Things: Legal Perspectives. Berlin: Springer, 2010.
  • Zhou, Honbo. The Internet of Things in the Cloud: A Middleware Perspective. Boca Raton: CRC Press, Taylor & Francis Group, 2013.
  • Singh, Jatinder; Pasquier, Thomas; Bacon, Jean; Ko, Hajoon; Eyers, David (2015). "Twenty Cloud Security Considerations for Supporting the Internet of Things". IEEE Internet of Things Journal: 1–1. doi:10.1109/JIOT.2015.2460333.
  • THE INTERNET OF THINGS 2015 REPORT: Examining how the IoT will affect the world, Business Insider 2015

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • "A New Economic Vision for Addressing Climate Change (Internet of things - part II)". Huffington Post. 2 June 2014. (2014-06-02) and "Monopoly Capitalism vs. Collaborative Commons (Internet of things - part I)". Huffington Post. 7 April 2014. (2014-04-07)
  • Pew Internet canvas of experts, prognosticating on the nature, application, and impact of the Internet of Things in 2025
  • "The Creepy New Wave of the Internet (Internet of things)". (2014-11-02), New York Review of Books
  • The IoT Council
  • Internet of Things and People research center at Malmö University, Sweden
  • Internet of Things could get big with battery free Devices powered by Wi-Fi signals. (PoWi-Fi).
  • IoT and Last Mile Navigation
  • Ramsey, Rachel. "PubNub Brings Reliable, Real-time Connectivity to the IoT with Connected Car Solution Kit". (2014-01-29), IoT Evolution World