การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าคืออะไร

คนที่แก้ปัญหาเฉพาะหน้าเก่ง เค้าฝึกกันมาอย่างไรครับ

กระทู้คำถาม

ปัญหาชีวิต

คนที่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือเอาตัวรอดได้เก่ง เค้าฝึกกันมาอย่างไรครับ สามารถฝึกตัวเองให้เป็นแบบนั้นได้มั้ยครับ

1

5

การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าคืออะไร

สมาชิกหมายเลข 5446347

สมาชิกหมายเลข 3798603 ถูกใจ, ความเหงาล้อมเราไว้หมดแล้ว ถูกใจ, เย็นวันจันทร์ ถูกใจ, แดจังกึม ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3547033 ถูกใจ

เทคนิคการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอย่างสร้างสรรค์

รหัสหลักสูตร: 25118

จำนวนคนดู 5979 ครั้ง

กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม


สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)

สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 094-489-6364 / 097-474-6644
อีเมล์
ไลน์ไอดี @seminardd

ปัญหา ยิ่งกลัวยิ่งแก้ยาก ตรงกันข้ามหากกล้าเผชิญปัญหาอย่างสร้างสรรค์ จะทำให้สามารถฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ไปได้ด้วยดี โดยเฉพาะคนที่เป็นหัวหน้าหน่วยงาน ผู้บังคับบัญชา  ผู้นำทุกระดับหากมีคุณลักษณะ หรือมีขีดความสามารถดังกล่าว ย่อมเป็นพลังขับเคลื่อนองค์การที่ดี  
         หลักสูตร  เทคนิคการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอย่างสร้างสรรค์”  จึงมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เทคนิควิธีการแก้ไขและป้องกันปัญหาอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ ประกอบกรณีศึกษาจากปัญหาทั้งภายในและภายนอกองค์การ มีกิจกรรมฝึกทักษะการแก้ไขปัญหาฯ นอกจากนี้  ยังมุ่งเน้นให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมคิดวิเคราะห์ปัญหาเชิงรุกและเชิงรับ สอดแทรกภาวะผู้นำ การคิดเชิงสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา  ซึ่งจะเป็นประโยชน์ทั้งผู้เข้ารับการฝึกอบรมและองค์การ

วัตถุประสงค์
      2.  สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปบูรณาการใช้ในการเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานในหน่วยงาของตน และการดำเนินชีวิต
      3. สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปบูรณาการใช้ในการช่วยองค์การแก้ไข และป้องกันปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
      4. สามารถบูรณาการองค์ความรู้นำไปเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานการดำเนินชีวิตของตนและทีมงาน

เนื้อหา
      1. คุณแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดีเพียงใด                                                                                     
      2. แบบทดสอบเพื่อวัดระดับการแก้ปัญหา 
      3. ปัญหาคืออะไรแนวคิดและมุมมองต่อปัญหา                                                                                
      4. การกำหนดประเด็นปัญหาการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
      5. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
      6. การกำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้
      7. การตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติ
      8. กรอบแนวคิด หลักการคิดวิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ                                            
      9.
 การคิดนอกกรอบ                                                                                                                                  
    10. เครื่องมือการจัดการที่ใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา พร้อมตัวอย่าง
    11. เทคนิคที่ช่วยให้การแก้ปัญหาประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพ
                                                        
    12. กรณีศึกษา การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์รูปแบบการนำเสนอ             บรรยายประกอบกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในเกม กิจกรรมและการฝึกทักษะ กรณีศึกษาและเวิร์คช็อป ต่างๆโดยผู้ร่วมฝึกอบรมจะได้ฝึกเชิงปฏิบัติในทุกช่วงของการอบรม

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)

สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 094-489-6364 / 097-474-6644
อีเมล์
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เมื่อมีปัญหาในการทํางาน จะแก้ปัญหาอย่างไร

1. รับฟังและแก้ไขอย่างใจเย็นและเป็นมืออาชีพ ... .
2. เรียกแต่ละฝ่ายมาคุยแบบส่วนตัว ... .
3. ปรึกษาฝ่ายบุคคล ... .
4. หาวิธีแก้ปัญหาที่จะส่งผลดีที่สุดต่อบริษัท ... .
5. ตั้งกฎหรือข้อตกลงเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำรอยเดิม.

วิธีการแก้ปัญหาในการทํางาน ประกอบด้วย กี่ขั้นตอน

ขั้นตอนการแก้ปัญหา.
1. การยอมรับถึงปัญหา สิ่งสำคัญอันดับแรกในการจะแก้ปัญหาให้ได้ผล นั้น คือการยอมรับว่าปัญหาว่าเป็นปัญหา งงมั้ย หากงง อ่านใหม่ หากยังไม่เข้าใจอีกให้อ่านใหม่อีก สำคัญนะข้อนี้.
2. กำจัดขอบเขตของปัญหา ... .
3. กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา ... .
4. การลงมือทำตามแผน ... .
5. การติดตาม.

ความสามารถในการแก้ปัญหาคืออะไร

2. ความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการแก้ปัญหาสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นจากการลงมือปฏิบัติจริงระหว่างการจัดการเรียนการสอนในรายวิชางานประกอบอาหาร แล้วน าความรู้ และประสบการณ์มาคิดหาวิธีการในการแก้ปัญหาซึ่งประกอบด้วย กระบวนการแก้ปัญหาและปฏิบัติการแก้ปัญหา มีความหมายดังนี้

การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ควรทำอย่างไร

เมื่อเกิดปัญหามีกระบวนการในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมกับปัญหาที่เกิดขึ้น.
ใช้เหตุผลในการตัดสินใจ.
ไม่ยึดติดวิธีการแก้ปัญหาแบบเดิม ๆ.
มีการตั้งคำถามที่ดีในการแก้ปัญหา.
ยอมรับในสถานการณ์ต่างๆ และมีความยืดหยุ่นในการแก้ปัญหา.
มีมนุษยสัมพันธ์ ในการสร้างสัมพันธ์ภาพกับผู้อื่น.
ปรับตัวได้ดีกับสถานการณ์ต่าง ๆ.