สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

คุณสามารถทำให้ตาราง แผนภูมิ รายการ หรือบล็อกของข้อความแสดงบนสไลด์พร้อมกันทั้งหมดหรือแสดงทีละชิ้นได้ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถทำให้แผนภูมิวงกลมแสดงขึ้นทีละเสี้ยว หรือทำให้รายการแสดงขึ้นทีละรายการ คุณยังสามารถทำให้รายการเหล่านี้ออกจากสไลด์ทั้งหมดหรือออกทีละชิ้นได้อีกด้วย

  1. บนสไลด์ ให้แตะตาราง แผนภูมิ หรือบล็อกของข้อความ จากนั้นแตะ ทำให้เคลื่อนไหว

    ถ้าคุณไม่เห็น ทำให้เคลื่อนไหว ให้แตะ

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    เพื่อดูตัวเลือกเพิ่มเติม

  2. แตะ เพิ่มฉากเข้า หรือ เพิ่มฉากออก จากนั้นแตะเอฟเฟ็กต์ที่คุณต้องการ

  3. แตะ เสร็จสิ้น

  4. แตะฉากที่คุณเพิ่งเพิ่มที่ด้านล่างสุดของหน้าจอ แล้วแตะ การจัดฉาก จากนั้นแตะตัวเลือกการจัดฉาก

    ตัวอย่างเช่น คุณอาจเลือก ตามกลุ่มสัญลักษณ์หัวข้อย่อย หากคุณต้องการให้รายการสัญลักษณ์หัวข้อย่อยแสดงขึ้นทีละจุด แต่ต้องการให้สัญลักษณ์หัวข้อย่อยที่เยื้องกันแสดงในเวลาเดียวกันกับสัญลักษณ์หัวข้อย่อยชั้นบนของสัญลักษณ์นั้นๆ

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
  5. ในการเปลี่ยนลำดับที่สัญลักษณ์หัวข้อย่อยหรือย่อหน้าแสดง ให้แตะ สร้างจาก แล้วเลือกสัญลักษณ์หัวข้อย่อยหรือย่อหน้าที่จะใช้เริ่มต้นและสิ้นสุด

  6. ในการดูการแสดงตัวอย่างของการเคลื่อนไหว ให้แตะ

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    แล้วแตะ แสดงตัวอย่าง

  7. แตะ เสร็จสิ้น ตรงมุมขวาบนสุดของหน้าจอ

ตามค่าเริ่มต้น ฉากแต่ละฉากจะถูกตั้งให้แสดงเมื่อคุณแตะ ซึ่งหมายความว่าถ้าแผนภูมิวงกลมมีห้าเสี้ยว คุณต้องแตะห้าครั้ง แผนภูมิทั้งหมดจึงจะแสดงบนสไลด์ ในการเปลี่ยนการกำหนดเวลาของฉากเหล่านี้ ให้ดูที่เปลี่ยนลำดับและการกำหนดเวลาของฉากต่างๆ ใน Keynote บน iPhone

การกำหนดรูปแบบการแสดงสไลด์และแอนิเมชั่น

การกำหนดรูปแบบการแสดงสไลด์

      การกำหนดรูปแบบการแสดงสไลด์ หรือทรานซิชั่น (Transition) คือ การใส่เอฟเฟ็กต์ การปรากฎตัวของสไลด์แต่ละ ใบ โดยการกำหนด ทรานซิชั่นนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบดังนี้

การกำหนดทรานซิชั่นทีละสไลด์

  1. คลิกสไลด์ที่ต้องการกำหนดทรานซิชั่น > คลิก แท็บการเปลี่ยน (Transition)

  2. คลิกปุ่ม

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    ที่ กลุ่มคำสั่งการเปลี่ยนไปยังภาพนิ่งนี้ (Transition to This Slide) > เลือกเอฟเฟ็กต์ที่ต้องการ

  3. สไลด์จะแสดงตัวอย่างเอฟเฟ็กต์ที่เลือกไว้ และมีสัญลักษณ์

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    ปรากฎอยู่ใต้สไลด์ เพื่อแสดงว่าสไลด์นี้มีการใส่
    เอฟเฟ็กต์ดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การกำหนดทรานซิชั่นแบบเดียวกันทุกสไลด์

  1. คลิกสไลด์ที่มีเอฟเฟ็กต์ต้นแบบที่ต้องการ

  2. คลิก แท็บการเปลี่ยน (Transition) > คลิก ปุ่มนำไปใช้กับทั้งหมด (Apply To All)

  3. สไลด์ทั้งหมดในงานนำเสนอมีรูปแบบทรานซิชั่นเหมือนกับสไลด์ต้นแบบดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

เครื่องมือกำหนดรายละเอียดทรานซิชั่นเพิ่มเติม

      หลักจากกำหนดทรานซิชั่นให้สไลด์แล้ว เราสามารถกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติมให้กับทรานซิชั่นได้ โดยการใช้ เครื่องมือต่าง ๆ ดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การยกเลิกการกำหนดทรานซิชั่น

      หากต้องการยกเลิกการกำหนดทรานซิชั่นบนสไลด์ ก็สามารถทำได้โดยมีวิธีการดังนี้

  1. คลิกสไลด์ที่ต้องการยกเลิกการใส่ทรานซิชั่น

  2. คลิก แท็บการเปลี่ยน (Transition) > คลิกปุ่ม

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    ที่ กลุ่มคำสั่งการเปลี่ยนไปยังภาพนิ่งนี้ (Transition to This slide)

  3. เลือกรูปแบบทรานซิชั่นเป็น ไม่มี (None) ดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การกำหนดแอนิเมชั่น

      การกำหนดแอนิเมชั่น (Animation) คือ การกำหนดเอฟเฟ็กต์การแสดงผลของวัตถุแต่ละชิ้นบนสไลด์ โดยการ กำหนดแอนิเมชั่นมีวิธีการดังนี้

  1. คลิกวัตถุที่ต้องการกำหนดแอนิเมชั่น > คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations)

  2. คลิกปุ่ม

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    ที่ กลุ่มคำสั่งภาพเคลื่อนไหว (Animation) > เลือกเอฟเฟ็กต์ที่ต้องการ

  3. วัตถุที่เลือกจะแสดงตัวอย่างเอฟเฟ็กต์ และหมายเลขแสดงลำดับแอนิเมชั่น ดังต่อไปนี้

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การกำหนดแอนิเมชั่นซ้อนกันหลายชั้น

      สำหรับการกำหนดแอนิเมชั่นให้วัตถุนั้น นอกจากการกำหนดแอนิเมชั่นแบบเอฟเฟ็กต์เดียวแล้ว เรายังสามารถใส่ เอฟเฟ็กต์ซ้อนกันหลายชั้น ให้วัตถุได้ โดยมีวิธีการดังนี้

  1. คลิกวัตถุที่ต้องการใส่เอฟเฟ็กต์เพิ่มเติม > คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations)

  2. คลิก ปุ่มเพิ่มภาพเคลื่อนไหว (Add Animation) > เลือกเอฟเฟ็กต์ที่ต้องการ

  3. หมายเลขแสดงลำดับแอนิเมชั่นจะปรากฎขึ้นมา เพื่อแสดงว่าวัตถุนี้มีการใส่เอฟเฟ็กซ์ซ่อนไว้ตามจำนวนหมายเลข โดยการแสดงผล จะแสดงเอฟเฟ็กต์เรียงลำดับหมายเลข

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การกำหนดรูปแบบแอนิเมชั่นเพิ่มเติม

      นอกจากการกำหนดแอนิเมชั่นด้วยเอฟเฟ็กต์สำเร็จรูปแล้ว เรายังสามารถกำหนดรูปแบบเอฟเฟ็กต์เพิ่มเติมได้ตาม ต้องการ โดยมีวิธีการ ดังต่อไปนี้

  1. คลิกวัตถุ หรือหมายเลขลำดับแอนิเมชั่นที่ต้องการกำหนดรูปแบบ > คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations)

  2. คลิกปุ่ม

    สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร
    ที่กลุ่มคำสั่งภาพเคลื่อนไหว (Animation) หรือคลิก ปุ่มเพิ่มภาพเคลื่อนไหว (Add Animation)

  3. เลือกคำสั่งสำหรับกำหนดรูปแบบแอนิเมชั่น

  4. เลือกรูปแบบเอฟเฟ็กต์ที่ต้องการ > คลิก ปุ่มตกลง (OK)

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

โดยคำสั่งสำหรับกำหนดรูปแบบแอนิเมชั่น มีรายละเอียดดังนี้

  • ลักษณะพิเศษเข้าเพิ่มเติม (More Entrance Effects) : เอฟเฟ็กต์สำหรับนำวัตถุเข้าสู่สไลด์

  • ลักษณะพิเศษเน้นเพิ่มเติม (More Emphasis Effects) : เอฟเฟ็กต์สำหรับเน้นวัตถุ เช่น การแสดงวัตถุให้ใหญ่ขึ้น การหมุนวัตถุ การกำหนดลักษณะสี เป็นต้น

  • ลักษณะพิเศษออกเพิ่มเติม (More Exit Effects) : เอฟเฟ็กต์สำหรับนำวัตถุออกจากสไลด์

  • เส้นทางการเคลื่อนไหวเพิ่มเติม (More Motion Paths) : เอฟเฟ็กต์สำหรับกำหนดให้วัตถุเคลื่อนไหวตามทิศทาง ที่กำหนด

การลบแอนิเมชั่น

      หากต้องการลบแอนิเมชั่นออกจากวัตถุ ก็สามารถทำได้ด้วยการคลิกที่หมายเลขลำดับของแอนิเมชั่นที่ต้องการลบ แล้วกดปุ่ม Delete ที่แป้นพิมพ์

เครื่องมือสำหรับกำหนดรายละเอียดแอนิเมชั่น

      หลังจากกำหนดแอนิเมชั่นให้วัตถุแล้ว หากต้องการกำหนดรายละเอียดเพิ่มเติม เช่น การกำหนดเวลาในการแสดง แอนิเมชั่น การจัดลำดับ หรือการคัดลอกแอนิเมชั่น ก็สามารถทำได้โดย การใช้เครื่องมือที่อยู่ใน แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations) ดังรูป

กลุ่มคำสั่งแสดงตัวอย่าง (Preview) และกลุ่มคำสั่งภาพเคลื่อนไหว (Animation)

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

กลุ่มคำสั่งภาพเคลื่อนไหวขั้นสูง (Advanced Animation)

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การกำหนดเวลา (Timing)

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การจัดลำดับการแสดงแอนิเมชั่น

      ในกรณีที่มีการกำหนดแอนิเมชั่นให้กับวัตถุหลายๆ ชิ้นบนสไลด์ หากต้องการจัดลำดับการแสดงเอฟเฟ็กต์ต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับการนำเสนอก็สามารถทำได้ โดยวิธีการดังนี้

  1. คลิกเลขลำดับแอนิเมชั่นหน้าวัตถุที่ต้องการเปลี่ยนลำดับ

  2. คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations) > ไปที่ คำสั่งจัดลำดับภาพเคลื่อนไหวใหม่ (Recorder Animation) แล้วคลิกคำสั่งเพื่อจัดลำดับตามต้องการ โดยมีรายละเอียดดังนี้

    • ย้ายไปก่อนหน้านี้ (Move Earlier) > เลื่อนลำดับการแสดงเอฟเฟ็กต์ขึ้นไป 1 ลำดับ

    • ย้ายไปหลังจากนี้ (Move Later) > เลื่อนลำดับการแสดงเอฟเฟ็กต์ลงไป 1 ลำดับ

  3. ซึ่งในที่นี้คลิก คำสั่งย้ายไปก่อนหน้านี้ (Move Earlier) หมายเลขลำดับหน้าวัตถุจึงเปลี่ยนจากเลข 5 เป็นเลข 4 ดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การกำหนดเวลาแสดงแอนิเมชั่น

      นอกจากการจัดลำดับการแสดงแอนิเมชั่นแล้ว เรายังสามารถกำหนดเวลาที่ใช้ในการแสดงแอนิเมชั่นได้อีกด้วย โดยมีวิธีการดังนี้

  1. คลิกเมาส์ลำดับของแอนิเมชั่นที่ต้องการกำหนดเวลา

  2. คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations) > ระบุเวลาที่ต้องการลงใน ช่องระยะเวลา (Duration) เช่น ถ้าระบุเป็น 02.00 หมายความว่า เวลาที่ใช้ในการแสดงแอนิเมชั่นนี้ตั้งแต่ต้นจนจบใช้เวลา 2 วินาที

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การคัดลอกรูปแบบแอนิเมชั่น

      ในกรณีที่ต้องการกำหนดแอนิเมชั่นให้มีลักษณะเหมือนกับวัตถุต้นแบบ ก็สามารถใช้ ตัวคัดวางภาพเคลื่อนไหว (Animation Painter) ช่วยในการคัดลอกรูปแบบได้ โดยมีวิธีการดังนี้

  1. คลิกวัตถุต้นแบบที่ต้องการคัดลอกรูปแบบแอนิเมชั่น

  2. คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations) > คลิก ปุ่มตัวคัดวางภาพเคลื่อนไหว (Animation Painter)

  3. คลิกวัตถุปลายทางที่ต้องการวางรูปแบบแอนิเมชั่นที่คัดลอกมา

  4. วัตถุปลายทางจะมีรูปแบบแอนิเมชั่นเหมือนกับวัตถุต้นฉบับ รวมถึงรายละเอียดต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ใน กลุ่มคำสั่ง การกำหนดเวลา (Timing) ดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การใช้บานหน้าต่างภาพเคลื่อนไหว

      บานหน้าต่างภาพเคลื่อนไหว (Animation Pane) คือ หน้าต่างที่ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดของแอนิเมชั่นทั้งหมด บนสไลด์ เช่น รูปแบบเอฟเฟ็กต์ ลำดับการแสดงแอนิเมชั่น เวลาที่ใช้ในการแสดงแอนิเมชั่น เป็นต้น ซึ่งนอกจากการ แสดงภาพรวมของแอนิเมชั่นแล้ว เรายังสามารถใช้หน้าต่างนี้ช่วยในการปรับแต่งแอนิเมชั่นได้อีกด้วย โดยมีรายละเอียด ดังนี้

การเปิดบานหน้าต่างภาพเคลื่อนไหว

  1. คลิก แท็บภาพเคลื่อนไหว (Animations)

  2. คลิก ปุ่มบานหน้าต่างภาพเคลื่อนไหว (Animation Pane)

  3. บานหน้าต่างภาพเคลื่อนไหว (Animation Pane) จะปรากฎขึ้นมาทางด้านขวาพร้อมรายละเอียดของแอนิเมชั่น ทั้งหมดบนสไลด์ดังรูป

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร

การแก้ไขรายละเอียดแอนิเมชั่น

      การแก้ไขรายละเอียดแอนิเมชั่นด้วย บานหน้าต่างภาพเคลื่อนไหว (Animation Pane) สามารถทำได้ 2 วิธีดังนี้

  • วิธีที่ 1 คลิกปุ่มลูกศรท้ายชื่อแอนิเมชั่นที่ต้องการแก้ไข แล้วเลือกคำสั่งที่ต้องการ

  • วิธีที่ 2 ดับเบิลคลิกตรงชื่อแอนิเมชั่นที่ต้องการแก้ไข เพื่อแก้ไขรายละเอียดแอนิเมชั่นผ่านไดอะล็อกบ็อกซ์

สัญลักษณ์ การเคลื่อนไหวออก ของวัตถุ มี ลักษณะ อย่างไร