อัตราจังหวะ 2 ชั้นของดนตรีไทยหมายความว่าอย่างไร

น. จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับปานกลางคือช้ากว่าชั้นเดียวเท่าตัว หรือเร็วกว่าสามชั้นเท่าตัว เรียกเต็มว่า อัตราสองชั้น เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสองชั้น เพลงสองชั้น.

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน

สองชั้นภาษาอังกฤษ

สองชั้นภาษาไทย สองชั้นความหมาย Dictionary สองชั้นแปลว่า สองชั้นคำแปล

สองชั้นคืออะไร

ซึ่งความสั้นยาวของเพลงดังกล่าว เมื่อบรรเลงต่อเนื่อง จึงมีผลให้การบรรเลงเกิดความช้าเร็วไปตามสัดส่วนนี้ด้วย นั่นคือเพลงที่มีจังหวะ 3 ชั้นจะบรรเลงช้า เพลงที่มีจังหวะ 2 ชั้นจะบรรเลง ปานกลาง และจังหวะชั้นเดียวจะบรรเลงเร็ว  

               แต่จริงๆ แล้ว การที่จะรู้ว่าเพลงใดเป็นเพลงบรรเลงในจังหวะใด สามารถสังเกตได้จากเสียง “ฉิ่ง” และ “กลอง” ซึ่งเรียกว่า จังหวะ “หน้าทับ” ที่ปรากฏในแต่ละห้องเพลงเป็นสำคัญ 

               เพลงไทยจะมีการแบ่งห้องเพลงออกเป็นเลขคู่ (ตามคติทางพุทธศาสนา) ใน 1 ชุดหรือ1แถว จะมี 8 ห้อง,หรือ 4 ห้อง   โดยแต่ละห้องจะมี 4 จังหวะ แต่ละจังหวะคือ 1 ตัวโน็ต   ดังนั้น เสียงฉิ่งที่จะปรากฏในเพลงแต่ละอัตราจังหวะ ก็จะแสดงได้ดังนี้

จังหวะ 3 ชั้น      |  –  –   –  –  |  –  –  –  ฉิ่ง|  –   –   –  –   |  –  –  – ฉับ|
จังหวะ 2 ชั้น      |  –  –  –   ฉิ่ง|  –  –  – ฉับ|  –  –  –   ฉิ่ง|  –  –  – ฉับ|
จังหวะชั้นเดียว    |  – ฉิ่ง  – ฉับ| – ฉิ่ง – ฉับ|  – ฉิ่ง – ฉับ|  – ฉิ่ง – ฉับ|

               ทำนอง   เพลงไทยทุกเพลงจะใช้ทำนองหนึ่งเป็นทำนองหลักในการบรรเลง ( ทางฝรั่งเรียกว่า Theme หรือ Basic melody) ซึ่งจะบรรเลงโดยเครื่องดนตรีบางชิ้นสำหรับให้เป็นหัวใจหลักของวงเท่านั้น ไม่ได้บรรเลงโดย เครื่องดนตรีทุกชิ้น เช่นถ้าเป็นวงปี่พาทย์ ผู้ที่บรรเลงทำนองหลักนี้ก็คือ “ฆ้องวงใหญ่”   ส่วนเครื่องดนตรีชิ้นอื่นจะบรรเลงทำนองหลักดังกล่าว โดยการแปรให้เป็นแนวเสียงและวิธีบรรเลงที่เหมาะกับบุคคลิกของตนเองประสานกันไป ซึ่งเรียกแนวการแปรนี้ว่า “ทาง” เช่น “ทางใน” – จะหมายถึงทำนองเพลงที่บรรเลงโดยแปรให้เป็นไปตามลักษณะเสียงของปี่ใน เป็นต้น

               สิ่งที่กำกับให้การแปรทำนองของเครื่องดนตรีแต่ละชิ้นเหล่านี้เป็นไปในรอยเดียวกันก็คือ เครื่องประกอบจังหวะ อันได้แก่ ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง นั่นเอง

               มาตราเสียง    หมายถึงระดับความสูงต่ำของเสียง   ดนตรีไทยมีอยู่ 7 ขั้นหรือ 7 เสียง เทียบได้กับเสียงดนตรีสากล (โด เร มี ฟา ซอล ลา ที)   แต่มีข้อแตกต่างคือ แต่ละขั้นเสียงในดนตรีไทยมีความห่างของเสียงเท่ากันตลอดทั้ง 7 ขั้น ซึ่งต่างจากดนตรีสากลที่มีความห่างบางขั้นแค่ครึ่งเสียง (เช่น จากเสียง -มี ไป ซอล-) ทำให้เสียงจากเครื่องดนตรีไทยเดิม ไม่สามารถเล่นควบคู่กับเครื่องดนตรีสากลได้   ภายหลังจึงได้มีการพัฒนาปรับแต่งเครื่องดนตรีบางชิ้น ให้มีระยะห่างของเสียงเท่ากับเครื่องดนตรีสากลเพื่อให้สามารถเล่นพร้อมกันได้ เช่น ขลุ่ยเสียง C, ขลุ่ยเสียง Bb เป็นต้น

               การประสานเสียง  ในดนตรีไทยจะมีการประสานเสียง 2 อย่าง คือ การประสานเสียงภายใน – ซึ่งเกิดจากการสร้างเสียงไม่น้อยกว่า 2 เสียงพร้อมกันภายในของเครื่องดนตรีบางชนิด   เช่น ระนาด , ฆ้องวง,   ซอสามสาย,  ขิม.. ซึ่งมักใช้เสียงประสานที่เรียกว่า “ขั้นคู่เสียง” (interval) เป็นคู่แปด (เช่น โด ต่ำกับ โด สูง) หรือคู่ห้า (เช่น โด กับ ซอล)    แต่จะไม่ใช้คู่เจ็ด หรือคู่เก้า และการประสานเสียงภายนอก – อันเกิดจากเสียงเครื่องดนตรีต่างชนิด ซึ่งมีทางเสียงต่างกัน แต่บรรเลง (แปร)ในทำนองเดียวกัน ประสานกันไป   นอกจากนี้ยังมีเสียงจากเครื่องให้จังหวะต่างๆ (ฉิ่ง , กลอง..) อีกด้วย

�ѧ����ŧ��������˹����ҧ��͹����͹�Ѻ�ŧ���ѹ�� �ѡ����յ�ҧǧ�Ҩ����ŧ���ǡѹ���¨ѧ��з��ᵡ��ҧ�ѹ����
�ŧ���ա�����ŧ����ѵ�Ҩѧ��� �͡�� � �дѺ���¡ѹ���
�. �ѵ�Ҩѧ��Ъ������ ���ѡɳТͧ�ŧ����ؤ�á �յ鹡��Դ�Ҩҡ�ŧ��鹺�ҹ���� �ŧ��Сͺ������� ���ŧ����ըѧ������� �������¡����ŧ���� �ŧ������Ǩ���ͧ����͹���� ��������ա����ͧ����͹��¡��� ��Ѻ��ͧ��к���ŧ��Сͺ����ʴ����ʾ��ҧ� ������ҧ�ŧ������� ���� �ŧ�Ҥ�Ҫ �ŧ˹�����
�. �ѵ�Ҩѧ����ͧ��� �ըӹǹ��ͧ�ŧ���ͧ��Ңͧ������� �ըѧ��лҹ��ҧ ������������Ǩ��Թ� ��ǹ�˭����ŧ���� �����ͧ��Шӷӹͧ���� ��Ѻ��ͧ��к���ŧ�����繡�âѺ����� ��л�Сͺ����ʴ����ʾ��ҧ� ������ҧ�ŧ�ͧ��� ���� �ŧ�ҧ�Ҥ �ŧ������ŧ
�. �ѵ�Ҩѧ��������� �Դ������ѵ���Թ��� ��������ͧ�ѡ�ҫ�觼����蹵�ͧ��ʴ��������ҤԴ��͹���� �ըӹǹ��ͧ�ŧ���ͧ��Ңͧ � ������������Ңͧ������� �ըѧ��Ъ�� ��ͧ�����Һ���ŧ��ТѺ��ͧ�ҹ�����ŧ��ѵ������ �ӹͧ��ͧ���ա����ͧ����͹���� ��Ѻ��ͧ��к���ŧ��͡�ʷ���� ������ҧ�ŧ������ ���� �ŧ������ �ŧ�������к�÷�
�������ö�ѧࡵ��������ŧ�ѧ���������ѧࡵ�ҡ���§ ��� ��� ��ͧ ������¡�ѧ��з���Դ�ҡ����ͧ����շ���ͧ��Դ������ “�ѧ���˹�ҷѺ” ����ҡ������ ��ͧ�ŧ �ŧ���ա������ͧ�ŧ�͡���Ţ��� � � �ش���� � �� ���� � ��ͧ���� � ��ͧ �������ͧ���� � �ѧ��� �������Шѧ��Ф�� � ����� ���§�����ŧ�����ѵ�Ҩѧ����մѧ���
�ѧ��� � ���      |  -  -   -  -  |  -  -  -  ���|  -   -   -  -   |  -  -  - �Ѻ|
�ѧ��� � ���      |  -  -  -   ���|  -  -  - �Ѻ|  -  -  -   ���|  -  -  - �Ѻ|
�ѧ��Ъ������   |  - ���  - �Ѻ| - ��� - �Ѻ|  - ��� - �Ѻ|  - ��� - �Ѻ|

อัตราจังหวะสองชั้นเพลงไทยมีความหมายว่าอย่างไร

น. จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับปานกลางคือช้ากว่าชั้นเดียวเท่าตัว หรือเร็วกว่าสามชั้นเท่าตัว เรียกเต็มว่า อัตราสองชั้น เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสองชั้น เพลงสองชั้น.

อัตราจังหวะ 2 ชั้น คืออะไร *

๒. อัตราจังหวะสองชั้น มีจำนวนห้องเพลงเป็นสองเท่าของชั้นเดียว มีจังหวะปานกลาง ไม่ช้าหรือเร็วจนเกินไป ส่วนใหญ่เป็นเพลงสั้นๆ ที่ร้องและจำทำนองง่าย ใช้ขับร้องและบรรเลงเพื่อเป็นการขับกล่อม และประกอบการแสดงมหรสพต่างๆ ตัวอย่างเพลงสองชั้น ได้แก่ เพลงนางนาค เพลงสร้อยเพลง

จังหวะช้าในดนตรีไทยหมายความว่าอย่างไร

จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว 2. จังหวะฉิ่ง หมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่งเป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี “ฉิ่ง…

เพลงไทยอัตรา 3 ชั้น 2 ชั้นและชั้นเดียวมีความแตกต่างกันอย่างไร

ท่านจะสังเกตได้ว่า ความยาวของอัตราจังหวะจะยาว หรือ ขยาย หรือยืดออกจาก จังหวะที่เร็วกว่า 1 เท่าตัวเสมอ นั่นก็คือ เพลงในอัตราจังหวะ 2 ชั้น จะยาวกว่า อัตราจังหวะชั้น เดียว 1 เท่าตัว และอัตราจังหวะ 3 ชั้น ก็จะยาวกว่าอัตราจังหวะ 2 ชั้น 1 เท่าตัว ขอให้ดูแผนภูมิ ข้างล่างนี้จะช่วยให้เข้าใจขึ้น ชั้นเดียว