เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร

เครือข่ายระดับประเทศ ( Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ มีการติดต่อต่อสื่อสารกันในบริเวณกว้าง เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกลจึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ เช่น การสื่อสารแห่ง ประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้ บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขา เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร มีสาขาทั่วประเทศ มีบริการรับฝากและถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม

เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร

สำหรับตัวอย่างเครือข่าย WAN นอกจากอินเทอร์เน็ตแล้ว ก็ยังมีระบบโทรศัพท์แบบเดิม หรือ PSTN (Public Switch Telephone Network), ระบบเครือข่ายสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ระบบพวกเครือข่ายมือถือ (Mobile Broadband) ที่ครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ และ เครือข่ายของธนาคารตู้กดเงิน ATM ที่ทำให้เรากดเงินทั่วประเทศได้ นั่นเอง 

Close X

เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร

เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร
เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร
เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร
เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร
เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร
SOLUTIONS CORNER
ระบบเครือข่าย wan เครือข่ายวงกว้างที่ได้รับความนิยมในพื้นที่ห่างไกล
เครือข่ายแวน (WAN) มีลักษณะอย่างไร

ระบบเครือข่าย wan เป็นการเชื่อมต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงกว้างเพื่อตอบสนองการใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการดำเนินการขององค์กรและการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การใช้งานซอฟต์แวร์ โปรแกรม อินเตอร์เน็ตหรือเว็บไซต์ต่าง ๆ แบบเป็นส่วนตัว ซึ่งในปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีด้านการคมนาคมสื่อสารพร้อมกับการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความก้าวหน้า ทำให้การเชื่อมโยงและเข้าถึงสามารถเป็นไปได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วยิ่งขึ้น

ระบบเครือข่าย wan มีการทำงานอย่างไร

ระบบเครือข่าย wan คือเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมหรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีวงกว้างหรือครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ ที่สามารถส่งข้อมูลทางไกลเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จากสถานที่อื่นสามารถเข้าถึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ในเครือข่ายที่อยู่ห่างไกลได้

หลักการทำงานเบื้องต้นของระบบเครือข่าย wan นั้นจะใช้หลักการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด โดยผ่านการเชื่อมต่อทางสายโทรศัพท์ไม่ว่าจะเป็นแบบอะนาล็อกที่มีการใช้โมเด็มเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายโทรศัพท์ในอดีต ไปจนถึงการเชื่อมต่อแบบดิจิตอลในปัจจุบัน เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้บริการ และการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ อาทิ การรับส่งอีเมล์ การแชร์และถ่ายโอนไฟล์ของผู้ใช้หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล หรือการเชื่อมโยงให้สาขาของบริษัทที่อยู่พื้นที่ห่างไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลจากสำนักงานใหญ่ได้ เป็นต้น ซึ่งความเร็วในการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย wan ก็จะขึ้นกับความสามารถของเทคโนโลยีที่ใช้ อาทิ การเชื่อมต่อแบบ Dial-Up ในอดีต , ระบบ ADSL, เคเบิล, ระบบเครือข่ายไร้สายแบบ 4G ไปจนถึงการใช้สายไฟเบอร์ที่มีความเร็วสูงในปัจจุบัน เป็นต้น

ตัวอย่างการใช้งานระบบเครือข่าย wan

ปัจจุบันระบบเครือข่าย wan เป็นระบบที่ได้มีการนำมาประยุกต์เพื่อให้สามารถเข้าถึงโครงข่ายและข้อมูลได้หลากหลายประเภท เพื่อตอบสนองการใช้งานในวงกว้างด้วยเทคโนโลยีที่มีความรวดเร็วและทันสมัย ได้แก่
  • การเชื่อมต่อผ่านโครงข่ายโทรศัพท์มือถือหรือที่เรียกว่า Mobile broadband ทั้งระบบ 3G และ 4G เพื่อให้บริการการถึงอินเตอร์เน็ตแก่ผู้ใช้พื้นที่ทั่วประเทศจากผู้ให้บริการรายใหญ่
  • Last Mile เป็นบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้ใช้บริการในวงกว้างตามเมืองต่าง ๆ โดยการเชื่อมต่อผ่านสายไฟเบอร์
  • ระบบเครือข่ายขององค์กรต่าง ๆ อย่างเช่น ธนาคารที่มีสาขาในต่างจังหวัด ซึ่งมักจะเป็นการใช้บริการโครงข่ายของบริษัทโทรคมนาคมหลาย ๆ แห่งเพื่อให้สาขาสามารถเข้าถึงการใช้แอปพลิเคชันและโปรแกรมที่มีความเฉพาะเจาะจงของระบบธนาคารได้
  • การให้บริการทางธุรกิจเพื่อเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างประเทศ เพื่อให้ลูกค้าและผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อเข้าถึงข้อมูล การใช้งานโปรแกรม รวมถึงแอปพลิเคชันที่ต้องการได้ ถึงแม้จะอยู่คนละประเทศก็ตาม
ระบบเครือข่าย wan ที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบันก็คงจะไม่พ้นเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่ทำให้เกิดการเชื่อมโยงการเข้าถึงในพื้นที่ต่าง ๆ รวมถึงพื้นที่ห่างไกลได้เป็นอย่างดี เพียงแค่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานของผู้ให้บริการในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นแบบไร้สายหรือมีสายได้ การส่งต่อข้อมูลข่าวสาร การรับส่งไฟล์ หรือการเข้าใช้งานระบบและแอปพลิเคชันต่าง ๆ ก็จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป
ควิกเซิร์ฟ
สินค้า
งานระบบ
บริการ
กิจกรรม
ออนไลน์
                2. ���͢����Ҹ�ó� (PDN: public data network) ���ͺҧ�������¡������͢�����Ť������ (VAN: Value Added Network) �����͢��� WAN ������ͧ���˹�� (third party) �繼���˹�ҷ��㹡���Թ�к����͢��� ��������Ҫ�ͧ�ҧ�������������Ѻ ����ѷ��ҧ� ����ͧ������ҧ�к����͢��� ��觺���ѷ��Ŵ�������¢ͧ��ŧ�� ���ͧ�ҡ�պؤ������Ҫ����觻ѹ��������� ��觨й�����ѹ�ҡ ���ͧ�ҡ�դ������µ�ӡ��ҡ�èѴ������͢�����ǹ��� ����ö��ҹ��ѹ��������ͧ��������㹡�èѴ������͢������� �������պ�ԡ��������͡���ҧ ��ҡ���� ���ᵡ��ҧ�ѹ价�����ǹ�ͧ�Ҥ� �������� �ͺࢵ��鹷���ԡ�� ��Ф�����������Ѻ�ҹẺ��ҧ �

Wan เป็นระบบเครือข่ายระดับใด

3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้ติดตั้งบริเวณกว้าง มีสถานีหรือจุดเชื่อมต่อมากมาย มากกว่า 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหลายชนิด เช่น ระบบคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม

เครือข่าย WAN เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะการทำงานอย่างไร

เครือข่าย WAN เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็นหลาย ๆ กิโลเมตร ดังนั้นความเร็วในการเชื่อมโยงระหว่างกันอาจไม่สูงมากนัก เพราะระยะทางไกลทำให้มีสัญญาณรบกวนได้สูง ความเร็วจึงอยู่ในระดับช่วง9.6-64 Kbps และ 1.5-2 Mbps ขึ้นอยู่กับแอพพลิเคชั่นและขนาดของข้อมูล

ตัวอย่างของระบเครือข่าย WAN คือข้อใด

ระบบเครือข่ายแบบ WAN หรือระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง จะเป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงเครือข่ายแบบท้องถิ่นตั้งแต่ 2 เครือข่ายขึ้นไปเข้าด้วยกันผ่านระยะทางที่ไกลมาก โดยการเชื่อมโยงจะผ่านช่องทางการสื่อสารข้อมูลสาธารณะของบริษัทโทรศัพท์หรือองค์การโทรศัพท์ของประเทศต่างๆ เช่น สายโทรศัพท์แบบอนาลอก สายแบบดิจิทัล ดาวเทียม ไมโครเวฟ ...

เทคโนโลยีเครือข่ายแวนมีเทคโนโลยีอะไรบ้าง

ระบบส่งสัญญาณแบบวงจรสวิตซ์ที่ใช้ในเครื่อข่าย Wan มีดังนี้ - สายคู่เช่า (Leased Line) - โมเด็มและระบบโทรศัพท์ (Modem and Telephone System) - ISDN (Integrated Services Digital Network) - DSL (Digital Subscriber Line) - เคเบิลโมเด็ม (Cable Modem)