ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สังคม-วัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

คะแนนความนิยม

องค์กร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ศิลปวัฒนธรรมถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์สำคัญอย่างหนึ่งของประชาชาติในอาเซียน วัฒนธรรมดั้งเดิมของคนในภูมิภาคนี้ในขั้นเริ่มต้นมีพัฒนาการทางวัฒนธรรมที่ร่วมกัน แต่ในสมัยต่อมาได้มีการรับวัฒนธรรมทางศาสนาจากอินเดีย จากจีน และจากตะวันตกที่เกิดขึ้นในบางประเทศ ทำให้แต่ละประเทศในภูมิภาคนี้มีทั้งความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะงานศิลปกรรมที่เป็นส่วนหนึ่งของการสะท้อนความคิดและความเชื่อทางศาสนาของแต่ละชนชาติ ที่ปรากฏขึ้นในงานศิลปกรรมที่แตกต่างกัน ดังนั้น วิธีการทางประวัติศาสตร์ศิลปะ จึงเข้ามาทำการวิเคราะห์อธิบาย และแสดงให้เห็นถึงหลักฐานทางด้านศิลปกรรมของแต่ละประเทศในภูมิภาคอาเซียนว่ามีลักษณะรูปแบบที่มาเป็นอย่างไรในแต่ละยุคสมัย รวมถึงมีแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์เฉพาะของศิลปกรรมของแต่ละประเทศ นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของผู้คนในประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคนี้ผ่านคติความเชื่อที่มีร่วมกัน ทว่ามีรูปแบบของงานศิลปกรรมที่แตกต่างกันไปแต่ละท้องถิ่นทางสังคม ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงการผสมผสานศรัทธากับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละดินแดนเช่นกัน

Data source cannot be displayed.

สังคม-วัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Visualization

{{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1

ข้อมูลทรัพยากร : {{cur_meta.name}}

วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล
รหัสทรัพยากรข้อมูล
รายละเอียด
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล
หน่วยที่ย่อยที่สุดของการจัดเก็บข้อมูล
วันที่เริ่มต้นสร้าง
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด

รหัสชุดข้อมูล e09773b0-a72e-4bbf-8580-53da8aa9ca3a
คำสำคัญ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 29 เมษายน 2564
วันที่ปรับปรุง metadata 31 ตุลาคม 2564
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลระเบียน
ชื่อผู้ติดต่อ ผู้ดูแลระบบ
อีเมลผู้ติดต่อ
วัตถุประสงค์ ไม่ทราบ
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ไม่มีการปรับปรุงหลังจากการจัดเก็บข้อมูล
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 1
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ ประเทศ
แหล่งที่มา ไม่ทราบ
รูปแบบการเก็บข้อมูล ไม่ทราบ
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต Creative Commons Attributions
ภาษาที่ใช้ ไทย
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง

ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

"ข้อมูลนักวิจัยด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี จากระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและด้านนวัตกรรมแห่งชาติ (NRIIS) ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ ชื่อ - นามสกุลภาษาไทย ; ชื่อ - นามสกุลภาษาอังกฤษ ;...

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 22 สิงหาคม 2565  

ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ข้อมูลโครงการวิจัย ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี จากระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (NRIIS) ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ รหัสโครงการ ชื่อโครงการ ประเภทโครงการ นักวิจัย...

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 22 สิงหาคม 2565  

ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แหล่งรวบรวมองค์ความรู้เพื่อการวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงของโครงการพัฒนาคลังข้อมูลองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูง สำนักยุทธศาสตร์และแผน

วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 26 กรกฎาคม 2565  

ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อพัฒนาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อีเมล * :

วัตถุประสงค์ของการใช้งาน * :

รายละเอียดการใช้ข้อมูล * :

You can copy and paste the embed code into a CMS or blog software that supports raw HTML

อิทธิพลใดที่มีผลต่อพัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสมัยโบราณมากที่สุด

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้รับมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญจาก 2 อู่อารยธรรมโบราณ ซึ่งก็คืออารยธรรมจีน และอินเดีย กล่าวโดยเฉพาะวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับแนวคิด คติ และความเชื่อในเรื่องความเป็นจริงของโลก หรือก็คือศาสนา อารยธรรมอินเดียนับว่ามีอิทธิพลต่อภูมิภาคนี้มากที่สุด โดยศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพุทธ ซึ่งมีต้นกำเนิดในอินเดีย ...

ที่ตั้งและสภาพภูมิอากาศมีผลต่อพัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างไร

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ระหว่างอินเดียและจีน จึงเป็นจุดแวะพักของเรือสินค้า พ่อค้าต่างชาติ บางส่วนได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นี่จนก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมต่อกัน ซึ่งมีผลต่อพัฒนาการด้านต่างๆ ของชุมชนในภูมิภาคนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีชุมชนหลายแห่งที่เติบโตจนกลายเป็นเมืองท่าที่สำคัญ เช่น มะละกา ปัตตาเวีย ...

ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความสําคัญอย่างไร

2. ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในสมัยโบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความสำคัญอย่างไร ตั้งอยู่ระหว่างเส้นทางการค้าอินเดียกับจีน ทำให้ได้รับอิทธิพลทางอารยธรรมจากสองอารยธรรมใหญ่ คือ อารยธรรมจีนทางด้านตะวันออก ซึ่งมีอิทธิพลต่อเวียดนามมาก และวัฒนธรรมอินเดียทางด้านตะวันตก ซึ่งมีอิทธิพลต่อ

ปัจจัยด้านที่ตั้งทางภูมิศาสตร์มีอะไรบ้าง

ด้วยปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ 4 ด้าน ได้แก่ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะทางสังคมและ วัฒนธรรม และลักษณะเศรษฐกิจ