เกณฑ์ในการพิจารณาเลือกเพื่อจัดกิจกรรมนันทนาการมีอะไรบ้าง

Download ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้นานันทนาการ...

1

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผู้นานันทนาการ ความหมายของผู้นานันทนาการ เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย ( 2551 : 60 – 61) ได้ให้ความหมายของผู้นานันทนาการไว้ว่า ผู้นานันทนาการ หมายถึง ผู้ที่ทาหน้าที่ดาเนินการและอานวยการให้กิจกรรมนันทนาการบรรลุ เปูาหมายตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการดาเนินกิจกรรมนันทนาการประกอบด้วยจุดมุ่งหมายของกิจกรรม การเลือกกิจกรรม การจัดเตรียมสถานที่ในการดาเนินกิจกรรม วิธีการดาเนินการ สวัสดิภาพและ ความปลอดภัยในการดาเนินกิจกรรม และสุดท้ายการสรุปและการประเมินผลกิจกรรม ผู้นานันทนาการ (Recreation Leader) หมายถึง บุคคลที่มีหน้าที่จัดการบริการ แนะนา ช่วยเหลือให้บุคคลหรือหมู่คณะได้เลือกกิจกรรมนันทนาการที่จะเข้าร่วมตามต้องการ ตามความสนใจของ แต่ละบุคคลให้เขาได้รับความพอใจ ความสุขเพลิดเพลินจากกิจกรรมนันทนาการนั้น ส่วนศิลปะการเป็น ผู้นาทางนันทนาการ ( Leadership in Recreation) นั้น หมายถึง ศิลปะ หรือวิธีการต่างๆ ที่ผู้นา นันทนาการจะนาไปใช้เพื่อให้เข้าร่วมได้รับประสบการณ์ มีความพึงพอใจ มีทัศนคติ และมีความสนใจ ในกิจกรรมนันทนาการ (สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ, 2547 : 4) จรินทร์ ธานีรัตน์ (2525 หน้า 139 อ้างถึงใน สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ, 2547 : 4) ได้ให้ความหมายของผู้นานันทนาการไว้ว่า ผู้นาหมายถึงบุคคลที่มีหน้าที่จัดการบริหารแนะนา ช่วยให้บุคคลหรือหมู่คณะได้เลือกกิจกรรมนันทนาการที่จะเข้าร่วมตามความต้องการ ตามความสนใจ ของแต่ละบุคคลให้เขาได้รับความพอใจ ฟอง เกิดแก้ว (2517 หน้า132 อ้างถึงใน สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ, 2547 : 4) กล่าวว่า ผู้นานันทนาการต้องการให้ความรู้ความเข้าใจด้วยการสอน สาธิต ดูแลห่วงใยดังเช่น ครูสอนพลศึกษา กรมพลศึกษา (2544 : 61) กล่าวว่า ผู้นานันทนาการ (Recreation Leader) หมายถึง บุคคลที่มีหน้าที่จัดการบริการ แนะนา ช่วยเหลือให้บุคคลหรือหมู่คณะได้เลือกกิจกรรมนันทนาการที่จะเข้าร่วมตามความต้องการ ตามความสนใจ ของแต่ละบุคคลให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความพอใจ ความสุข และความเพลิดเพลินจากกิจกรรม นันทนาการนั้น ศิลปะการเป็นผู้นานันทนาการ (Leadership in Recreation) หมายถึง ศิลปะหรือวิธีการต่างๆ ที่ผู้นานันทนาการจะนาไปใช้เพื่อผู้เข้าร่วมได้รับประสบการณ์ มีความพึงพอใจ มีทัศนคติและมีความสนใจ ในกิจกรรมนันทนาการ ผู้นานันทนาการมีความสาคัญต่อนันทนาการมาก นอกจากมีหน้าที่ดังกล่าวแล้วจะต้องมีหน้าที่ ให้การระวังรักษาความปลอดภัยแก้ผู้เข้าร่วม และเป็นผู้จัดการวางโครงการ เป็นผู้สอน เป็นวิทยากรและ ให้การนิเทศด้านการนันทนาการ จึงสรุปได้ว่า ผู้นาเปรียบประดุจหัวใจของนันทนาการก็ว่าได้ ฉะนั้นผู้นา นันทนาการจึงต้องเรียนรู้วิธีการศิลปะต่าง ๆ ของการเป็นผู้นานันทนาการเพื่อประโยชน์ของบุคคลที่เข้าร่วม กิจกรรมมากที่สุด

2 ความสาคัญของผู้นานันทนาการ ผู้นานันทนาการมีความสาคัญต่อการนันทนาการมาก นอกจากมีหน้าที่ดังกล่าวแล้วจะต้องมีหน้าที่ ให้การระวังรักษาความปลอดภัยแก้ผู้เข้าร่วม และจะต้องเป็นผู้จัดการวางโครงการ เป็นผู้สอนให้เจ้าหน้าที่ วิทยากรและนิเทศในด้านนันทนาการ จึงกล่าวได้ว่าผู้นาเปรียบประดุจหัวใจของนันทนาการก็ว่าได้ ฉะนั้น ผู้นานันทนาการจึงต้องเรียนรู้วิธีการศิลปะต่าง ๆ ของการเป็นผู้นานันทนาการเพื่อประโยชน์สูงสุดของ บุคคลที่เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ จุดมุ่งหมายของการเป็นผู้นานันทนาการ คือ การให้คาแนะนา ให้บริการ ดูแล และทาให้กิจกรรมนันทนาการในยามว่างเป็นที่น่าสนใจ แก่ผู้ร่วมกิจกรรม แต่ต้องไม่ใช่วิธีการบังคับ การเป็นวิทยากรนากิจกรรมนันทนาการ หลักของการเป็นผู้นานันทนาการ ผู้นานันทนาการจะต้องมีหลักการที่สาคัญ ในการดาเนินการเพื่อให้ประสบความสาเร็จในการ จัดกิจกรรม ดังนี้ 1. ผู้นานันทนาการจะต้องเห็นความสาคัญของนันทนาการว่า เป็นสิ่งจาเป็นของชีวิตอย่างหนึ่งใน อันที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความสุข ดังนั้นจะต้องเข้าใจถึงวิธีการเลือกกิจกรรม นันทนาการ เพื่อช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2. ผู้นานันทนาการจะต้องเข้าใจและยอมรับในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลของสมาชิก ภายในกลุ่ม และต้องหาวิธีการดาเนินงาน เพื่อให้สอดคล้องกับความจาเป็นตามสภาพดังกล่าว 3. ผู้นานันทนาการจะต้องเข้าใจถึงเรื่องราวของการเล่นและการพักผ่อน ตลอดจนเห็นคุณค่าของ ทั้งสองอย่างนี้ เพื่อจะช่วยให้การจัดดาเนินงานได้ตอบสนองสิ่งเหล่านี้ได้ถูกต้อง 4. ผู้นานันทนาการจะต้องคอยติดตามการดาเนินงานตามโครงการอย่างใกล้ชิดโดยตลอด เพื่อให้ ทราบถึงกระบวนการต่างๆ ว่ามีผลอย่างไรต่อสมาชิก เพื่อจะได้ปรับปรุงแก้ไขต่อไป นอกจากนี้ยังจะช่วยให้ทราบว่า การดาเนินงานนั้นเป็นไปตามเปูาหมายมากน้อยเพียงใด 5. ผู้นานันทนาการจะต้องดาเนินงาน โดยใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ และทรัพยากรที่มีอยู่ ให้ดีที่สุด หรือให้เต็มประสิทธิภาพมากที่สุด 6. ผู้นานันทนาการจะต้องพยายามหาวิธีดาเนินงาน โดยลดการแข่งขันซึ่งกันและกัน ควรเน้น ให้สมาชิกได้ทางานร่วมกันมากว่าการแก่งแย่งชิงดี 7. ผู้นานันทนาการจะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นกรณีพิเศษ ถ้าหากว่าการดาเนินงานกิจกรรม นั้นเป็นการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของสังคมที่เห็นว่าไม่สมควร ผู้นาจะต้องรู้วิธีประยุกต์ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว 8. ผู้นานันทนาการต้องศึกษาค้นคว้าถึงเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางสังคมและควรนามา ปลูกฝัง เพื่อให้สมาชิกได้รับสิ่งดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลต่อการอยู่ร่วมกับสังคมต่อไป 9. ผู้นานันทนาการควรหาทางส่งเสริมให้ชุมชนช่วยเหลือสนับสนุนในการจัดบริการทาง นันทนาการแก่คนที่มีความบกพร่องทางกาย และการจัดกิจกรรมต่างๆ ทางนันทนาการควร จะต้องหาทางปูองกันการเกิดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นด้วย

3 10. ผู้นานันทนาการที่สามารถประสบความสาเร็จในการจัดดาเนินงานได้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ กล้าทาและทดลองหรือค้นหาข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ได้รายละเอียดที่เป็นจริง ในสังคม ซึ่งเป็นประโยชน์ในการจัดทาโครงการให้บรรลุตามความเป็นจริงและความต้องการ คุณสมบัติของวิทยากรนากิจกรรมนันทนาการ เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย (2551 :61-62) กล่าวถึงลักษณะผู้นานันทนาการไว้ดังนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของกิจกรรมนันทนาการและการนากิจกรรมอย่างดี โดยได้รับการ อบรมศึกษาโดยตรงจากหน่วยงานหรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง 2. มีความกระตือรือร้นที่จะทางานและแสวงหาความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. มีทักษะหรือประสบการณ์ในกิจกรรมมาแล้ว 4. มีอารมณ์มั่นคงและอารมณ์ขันในบางขณะ 5. มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ 6. มีความเชื่อมั่นตัวเอง 7. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เข้ากับบุคคลได้ทุกเพศและทุกวัย 8. มีความเป็นนักประชาธิปไตย รักความยุติธรรม 9. เป็นผู้ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในหน้าที่ 10. มีความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี 11. มีจิตวิทยา เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ มีจิตสานึกหรือสัญชาตญาณในการปูองกันอุบัติภัย 12. มีความสุภาพทั้งกิริยาและวาจา ตลอดจนการแต่งกายถูกกาลเทศะ พีระพงศ์ บุญศิริ (2542 : 124 -125) กล่าวถึงลักษณะของผู้นานันทนาการไว้ดังนี้ 1. ผู้นาต้องเกี่ยวข้องกับสมาชิก บุคคลต่างๆ อยู่ตลอดเวลา 2. ผู้นาต้องมีความสานึกในคุณค่าแห่งตน โดยยอมรับในศักดิ์ศรี ความคิดเห็นของผู้อื่นมีความ เข้าใจช่วยเหลือและสร้างทัศนคติให้เกิดขึ้น 3. ผู้นาต้องมีความตื่นตัว พร้อมอยู่เสมอที่จะให้ความช่วยเหลือ ชี้แนะให้กับผู้ร้องขอโดยไม่เลือก ชั้นวรรณะ 4. ผู้นาต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เข้าใจในความสนใจและความต้องการของแต่ละ บุคคล 5. ผู้นาจะต้องสร้างบุคลิกภาพเฉพาะของตนเอง 6. ผู้นาควรส่งเสริมให้สมาชิกค้นพบสิ่งใหม่ๆ ด้วยตนเอง ตามความสามารถและทักษะของแต่ละ บุคคล 7. ผู้นาควรยกย่องส่งเสริมให้สมาชิก ได้รับความยอมรับในสังคมอย่างเสมอภาค 8. ผู้นาต้องรู้จักชี้แนะให้บุคคลรู้จักการวางแผน และนาสู่การปฏิบัติการที่ถูกต้องกว้างขวาง 9. ส่งเสริมกลุ่มในการแก้ปัญหาและสร้างความสัมพันธ์ของกลุ่ม 10. ส่งเสริมความเป็นระบบระเบียบ การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ในกลุ่มงานและการสร้าง ประสบการณ์เพื่อชีวิต กรมพลศึกษา (2544 : 61 – 63) กล่าวถึงลักษณะของผู้นานันทนาการไว้ดังนี้ 1. ผู้นาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องปรัชญาของนันทนาการ และการดาเนินงานทาง นันทนาการ ซึ่งจะต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับบุคคล

4 2. ผู้นาต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องลักษณะของนันทนาการ ประวัติความเป็นมาและ พัฒนาการ ตลอดจนความเคลื่อนไหวต่างๆ ของนันทนาการ 3. ผู้นาจะต้องมีในเรื่องขอบข่ายและความสาคัญของนันทนาการที่มีต่อชุมชน 4. ผู้นาจะต้องมีความรู้ในเรื่องของนันทนาการที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับหน่วยงานต่างๆทั้งรัฐ และเอกชน 5. ผู้นาต้องมีความสามารถในการเป็นผู้นากลุ่ม ให้คาแนะนาปรึกษาแก่บุคคลต่างๆ ทางด้ าน นันทนาการได้เป็นอย่างดี 6. ผู้นาจะต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในงานอาชีพ และมีทักษะในกิจกรรมที่ต้องเกี่ยวข้องเป็น อย่างดี 7. ผู้นาจะต้องมีความรู้ความสามารถในการวางแผน และใช้สิ่งอานวยความสะดวกที่มีอยู่อย่างมี ประสิทธิภาพ 8. ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการฝึกฝน กากับดูแล และมอบหมายงานให้ผู้นาอาสาที่มาช่วย ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 9. ผู้นาจะต้องมีความสามารถในการทางานกับเพื่อนร่วมงานได้ดี และสามารถปฏิบัติงานภายใน ชุมชนได้ด้วย 10. ผู้นาควรจะต้องรู้ว่า มีหน่วยงานนันทนาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการให้บริการทางนันทนาการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้ทาอยู่ว่ามีมากน้อยเพียงใด ในการปฏิบัติงานของผู้นานันทนาการ มีสิ่งที่ผู้นาจะต้องคานึงถึงเพื่อเป็นหลักของการปฏิบัติงาน ทางนันทนาการ ซึ่งเคราส์และเบ็ทส์ (Kraus and Bates) ได้เสนอแนะหลักการไว้ 10 ประการ ดังนี้ 1. ผู้นาจะต้องปฏิบัติงานอยู่บนพื้นฐานของปรัชญาทางนันทนาการ จะต้องระลึกเสมอว่า นันทนาการ เป็นส่วนที่มีความสาคัญต่อชีวิต ในอันที่จะส่งเสริมการเจริญเติบโตของมนุษย์ และพัฒนาการของชุมชน 2. ผู้นาต้องมีความเข้าใจอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีการเล่น ทั้งในอดีตและปัจจุบัน อีกทั้งจะต้องมี ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ หลักการต่าง ๆ ทางจิตวิทยา ในอันที่จะช่วยสร้าง แรงจูงใจของบุคคลและกลุ่ม 3. ผู้นาควรมีความรู้ในเรื่องกระบวนการกลุ่มเป็นอย่างดี และสามารถใช้ให้เกิดประสิทธิภาพมาก ที่สุด 4. ผู้นาควรจะยอมรับความต้องการของแต่ละบุคคลภายในกลุ่ม และมีความเข้าใจในเรื่องความ แตกต่างระหว่างบุคคลในกลุ่มเป็นอย่างดี และในขณะเดียวกันจะต้องสร้างความสมดุล ให้เกิดขึ้น ภายในความต้องการ และสิทธิของคนภายในกลุ่ม 5. ผู้นาจะต้องระลึกเสมอว่า นันทนาการไม่ใช่สิ่งที่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง หากแต่เป็นวิถีทาง หนึ่งไปสู่เปูาหมาย ดังนั้น ความสาเร็จในการเล่น ชัยชนะในการแข่งขัน ความสนใจในสนาม เล่นเป็นสิ่งที่จะช่วยให้บรรลุความมุ่งหมายที่สาคัญของชุมชน 6. ผู้นาจะต้องสร้างความยุติธรรมในการแข่งขันต่าง ๆ และความร่วมมือกัน ควรระลึกไว้เสมอว่า ทั้งสองสิ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นของการดาเนินงานกิจกรรมกลุ่ม 7. ผู้นาควรสร้างองค์การให้มีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการวางแผนและการดาเนินงานตามแผนให้ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องอานวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนกิจกรรมและการบริการ ได้เป็นอย่างดี

5 8. ผู้นาควรจะต้องประเมินผล เพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ รวมถึงการ ปฏิบัติหน้าที่ของผู้นาด้วยว่าได้รับผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หรือไม่ 9. ผู้นาจะต้องแสวงหาวิธีการดาเนินงานที่มีคุณค่าทางสังคมอยู่เสมอ และควรจะสร้างทัศนคติ ทางคุณธรรมให้แก่ผู้เข้าร่วม รวมทั้งการเป็นตัวอย่างแก่ผู้เข้าร่วมด้วย 10. ผู้นาที่ประสบผลสาเร็จ จะต้องมีการเตรียมงานตามความรับผิดชอบเป็นอย่างดี กล้าที่จะต้อง ทดลองและริเริ่มโครงการใหม่ ๆ เพื่อให้กิจกรรมนันทนาการมีความหมายยิ่งขึ้น คุณสมบัติเฉพาะของผู้นานันทนาการ ผู้นานันทนาการที่ดีควรมีลักษณะที่พึ่งปารถนาดังต่อไปนี้ (พีระพงศ์ บุญศิริ. 2542 : 125 – 126) 1. รู้สึกและเข้าใจในคุณค่าของชีวิตและเกียรติของบุคคล 2. เข้าใจในความสนใจและความต้องการของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ 3. ตระหนักถึงความสาคัญของความร่าเริงในชีวิตและศิลปะการดาเนินชีวิต 4. พร้อมที่จะบริการกิจกรรมนันทนาการแก่บุคคลที่เข้าร่วม 5. กระตือรือร้นในหน้าที่การงาน 6. มีทักษะในกิจกรรมนันทนาการ 7. มีอารมณ์มั่นคง อดทน อดกลั่น ไม่เคร่งเครียด 8. มีอารมณ์ขัน ยิ้มแย้มแจ่มใสเสมอ 9. สุภาพ เรียบร้อย พูดจาดี บุคลิกภาพเหมาะสม 10. ไม่จู้จี้จุกจิกในเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ 11. มีสุขภาพพลานามัยดี 12. มีลักษณะเป็นมิตรต่อคนทั่วไป 13. ยุติธรรมไม่ลาเอียง 14. มีความเชื่อมั่นตนเอง 15. มีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี 16. เป็นประชาธิปไตย เข้าใจ เห็นใจผู้อื่น 17. เข้าใจหลักการบริการ และการจัดการ 18. หมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมเพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างบุคคลหรือระหว่างองค์กร รวมทั้งเพื่อการทางานเป็นทีม และเพื่อการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลหรือกลุ่ม ตลอดจนการจัดฝึกอบรม ของหน่วยงานต่างๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน ซึ่งกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เป็นการสร้างความคุ้นเคยให้กับ สมาชิกผู้เข้ารับการอบรม มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการจัดฝึกอบรมแต่ละครั้ง เพราะเป็นการกระตุ้นให้ ผู้เข้าอบรมกล้าแสดงออก มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม และจะทาให้ การดาเนินการฝึกอบรมเป็นไปด้วยความราบรื่น นอกจากนั้นเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับผู้เข้าอบรม และเป็นการเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อการบริหารงานในกลุ่มหรือองค์กร

6 ความหมายของกลุ่มสัมพันธ์ 1. กิจกรรมที่ทาให้กลุ่มได้เรียนรู้ถึงพฤติกรรม ทัศนคติ และการเข้าใจคน 2. กิจกรรมที่ทาให้กลุ่มเรียนรู้วิธีแก้ไขปัญหา พัฒนาตนเอง เกิดการยอมรับจากผู้อื่น 3. การเรียนรู้ปฏิกิริยาภายในกลุ่ม และกระตุ้นให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม 4. การใช้กระบวนการกลุ่มนามาเป็นแนวทางทาให้เกิดความร่วมมือที่ดีต่อการพัฒนาองค์กร วัตถุประสงค์ของการจัดกลุ่มสัมพันธ์ 1. เพื่อสร้างความคุ้นเคยให้กับสมาชิกเมื่อพบกันครั้งแรก 2. เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ความเป็นกันเอง ตื่นตัว และเป็นการสร้างบรรยากาศให้กับผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม 3. เพื่อการสังเกตพฤติกรรมกลุ่มและบุคคล 4. เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. เพื่อเสริมสร้างความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และกล้าแสดงออก 6. เพื่อฝึกการฟัง การคิด และการพูด 7. เพื่อเป็นการพัฒนางานบริหารขององค์กร ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 2. การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากกิจกรรม จะช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักและสนใจตัวเองดียิ่งขึ้น 3. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เข้ารับการอบรมสนุกสนาน ไม่เกิดความรู้สึกว่าถูกสอน และสามารถ เรียนรู้ได้ในระยะเวลาอันสั้น 4. เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรู้จักแก้ปัญหาทั้งส่วนตนและส่วนรวม 5. ช่วยให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อกัน มีความเข้าใจ เห็นใขกัน ลดการขัดแย้ง 6. ช่วยส่งเสริมให้การทางานรวมพลังกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. ช่วยให้ผลงานเป็นไปตามเปูาหมายและได้มาตรฐาน เป็นการเสริมสร้างพลังขององค์กรโดยบุคลากรที่มี ประสิทธิภาพ 8. ช่วยส่งเสริมในการพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และผ่อนคลายความตึงเครียด องค์ประกอบที่มีผลกระทบต่อความเป็นไปของกลุ่ม 1. ความไว้เนื้อเชื่อใจ ( TRUST) ความไว้เนื้อเชื่อใจในกันและกันของสมาชิกในกลุ่มจะช่วยให้กลุ่มมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อสมาชิกในกลุ่มทั้งหลายไว้วางใจกัน การปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มก็จะเป็นไป อย่างทั่วถึงและเปิดเผย 2. การสื่อสาร (COMMUNICATION) การสื่อสารจะเป็นองค์ประกอบสาคัญที่จะทาให้เกิดความเข้าใจ และการรับรู้ข่าวสารต่างๆ ที่ส่งให้กันและกัน การสื่อสารนั้นจะเป็นทั้งแบบทางเดียว และ 2 ทาง ซึ่ง ทั้ง 2 อย่างมีความจาเป็นต่อกลุ่มเช่นกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของข่าวสาร 3. ผู้นากลุ่ม ( LEADER) ผู้นากลุ่มประเภทต่าง ๆนั้น จะมีผลกระทบโดยตรงต่อความเป็นไปของกลุ่ม อย่างมาก 4. ขนาดของกลุ่ม (GROUP SIZE) ขนาดกลุ่มมีความสาคัญต่อการปฏิสัมพันธ์ของกลุ่มสมาชิกในกลุ่มที่ ใหญ่ขึ้น โอกาสต่างๆ ของสมาชิกในกลุ่มจะลดลง เช่น การสื่อสาร การมีส่วนร่วม ความเห็นพ้อง

7

5.

6. 7. 8.

9.

ต้องกัน ความเอาใจใส่ต่อกลุ่ม เป็นต้น สาหรับขนาดของกลุ่มที่พอเหมาะนั้นก็มีหลายแนวความคิดที่ แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามพอสรุปได้ว่ากลุ่มที่พอเหมาะน่าจะอยู่ในระดับ 9 – 15 คน อายุและเพศ (AGE & SEX) อายุและเพศเป็นตัวแปรที่มีผลต่อกลุ่มมาก กลุ่มอายุที่แตกต่างกัน การ แสดงออกก็ย่อมแตกต่างกันออกไป สาหรับเพศนั้นก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจและมีอิทธิพลต่อกลุ่ม ความ แตกต่างระหว่างหญิงและชายนั้นมีนานาประการ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การเลี้ยงดู ความสนใจ ผลของความแตกต่างระหว่างเพศและอายุในกลุ่ม ก็จะส่งผลกระทบกับความเป็นไปต่อการ ปฏิสัมพันธ์ของกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม และอื่น ๆ สถานภาพและตาแหน่ง ( STATUS & POSITION) สถานภาพและตาแหน่งของสมาชิกในกลุ่ม ทั้ง สถานภาพภายนอกที่ติดมาหรือด้านตาแหน่งภายในกลุ่มเองจะส่งผลและอิทธิพลต่อกลุ่มทั้งด้านความ คิดเห็น การตัดสินใจ หรือการโน้มน้าวชักชวนกลุ่ม ระดับสติปัญญา ( INTEELLIGENCE) สติปัญญานั้นเป็นสิ่งให้คาจากัดความกันหลายๆ ด้าน แต่ไม่ว่า จะเป็นอะไรก็ตามระดับสติปัญญาก็เป็นสิ่งที่จะกระทบต่อกระบวนการกลุ่ม บรรทัดฐานทางสังคมและค่านิยมทางสังคม (SOCIAL NORMS AND SOCIAL VALUE) 8.1 บรรทัดฐานทางสังคม เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ข้อบังคับ หรือมาตรฐานในการประพฤติ ปฏิบัติของคนในสังคมนั้น ๆ เป็นพฤติกรรมที่คาดว่าทุกคนควรจะทา ดังนั้นจึงมีอิทธิพลเหนือความนึก คิดของมนุษย์ หรือเป็นสิ่งที่ทาให้คนเราลดปริมาณในการตัดสินใจต่อศีลธรรม ( MORAL) จรรยาบรรณ (MORES) และกฎหมาย (LAW) 8.2 ค่านิยมทางสังคม หมายถึง การยอมรับนับถือและพร้อมที่จะปฏิบัติตามคุณค่า ที่คนหรือ กลุ่มคนมีต่อสิ่งต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นวัตถุ มนุษย์ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สาหรับกลุ่มที่ มีประสิทธิภาพ สมาชิกในกลุ่มจะมีค่านิยมบางอย่างที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งมิได้หมายความว่าใครคนใดคน หนึ่งพยายามจูงใจ หรือเปลี่ยนแปลงความคิดจากการที่สมาชิกจะค้นพบว่าตนมีความบังเอิญ มีความ ต้องการ และค่านิยมที่คล้ายคลึงกัน ความแตกต่างกันของบรรทัดฐานของสังคม และค่านิยมของ สมาชิกกลุ่มที่แตกต่างกันมีอิทธิพลต่อการดาเนินการของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพหรือล้มเหลวได้ ความแตกต่างกันระหว่างบุคคล ( INDIVIDUAL DIFFERENCES) ความแตกต่างระหว่างบุคคลนั้น เป็นองค์ประกอบสาคัญอีกประการหนึ่งที่จะส่งผลกระทบไปถึงกลุ่ม คนเรานั้นแตกต่างกันในหลายๆ ด้าน เช่น ทางกาย ทางอารมณ์ ทางสติปัญญา สังคม โดยลักษณะของความแตกต่างกันดังนี้นั้นก็จะทา ให้เกิดปมเด่น ปมด้อย ความแตกต่างในลักษณะและความสามารถ เป็นต้น

การเป็นผู้นากลุ่มสัมพันธ์ ผู้นาจะต้องเข้าใจถึงบุคคลและลักษณะธรรมชาติของกลุ่มดังที่กล่าวมา ทั้งนี้ เพื่อจะใช้เป็นพื้นฐานในการเลือกเปูาหมายกิจกรรมและข้อสรุปต่าง ๆ รวมทั้งยังจะเป็นจุดที่จะชี้ให้เห็นถึง จุดอ่อนต่าง ๆ ของการรวมกลุ่มของมนุษย์ เมื่อผู้นาเข้าใจอย่างชัดเจนก็จะสามารถเสริมจุดอ่อน หรือนาเอา ธรรมชาติและความเป็นไปของมนุษย์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา ถ้าปล่อยให้กลุ่มดาเนินไปตาม ธรรมชาติโดยตัวของมันเอง การพัฒนาก็จะช้าหรือไปไม่ถึง ผู้นากลุ่มจะต้องมีส่วนที่จะจัดกิกรรมเสริม หรือเป็น ตัวเร่งในการพัฒนานั้น เช่นถ้ากลุ่มไม่สนิทสนมกันเพราะขาดความไว้วางใจ (TRUST) จะทาอย่างไร หรือจะหา กิจกรรมอะไรมาเสริมให้กลุ่มเกิดความไว้เนื้อเชื้อใจกันได้อย่างรวดเร็ว ลักษณะของผู้นากิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 1. มีความรู้ด้านจิตวิทยา กลุ่มสัมพันธ์ และเทคนิคการละลายพฤติกรรม 2. รู้จักการวางแผ่นและการเตรียมการเพื่อดาเนินกิจกรรม 3. เป็นบุคคลที่มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ปรับตัวเก่ง เข้ากับบุคคลอื่นได้ดี

8 4. 5. 6. 7. 8. 9.

มีไหวพริบ มีความเชื่อมั่นในตัวเอง และมีความกระตือรือร้น เป็นคนยุติธรรม จริงใจ และวางตัวเป็นกลาง ใจกว้าง มีเหตุผล และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สามารถอธิบายและชี้แจงกิจกรรม ใช้คาพูดและภาษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ให้ความช่วยเหลือแนะนา และสังเกตพฤติกรรมของกลุ่ม โดยประสานงานให้กลุ่มดาเนิน กิจกรรมไปได้ด้วยดี

การจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เทคนิคการนากลุ่มสัมพันธ์ ผู้นากลุ่มสัมพันธ์ที่ประสบผลสาเร็จ มักจะมีลูกเล่น ลูกฮา ข้อคิดสะกิด สะเกา สิ่งละอันพันละน้อยคอยแทรก คอยเสริมอยู่เสมอ อย่าคิดว่าสิ่งเหล่านี้เป็นพรที่ประทานมาจาก สวรรค์ จงนั่งลงแล้วค้นหาตัวเราเองว่ามีอะไรที่เป็นพิเศษ บางคนแค่เห็นหน้าก็สนุกหัวเราะ บางคนลูกเล่น เพราะท่าเดิน ฯลฯ ก็ค่อยหา ค่อย ๆ คิด แล้วทดลองนาออกใช้ดู ถ้าใช้ได้ก็เอาไปใช้ ถ้าใช้ไม่ได้ก็เลิกไม่เห็น จะเป็นอะไร ตัวอย่างที่เอาไปใช้ได้ มีดังนี้ 1. เป็นตัวของตัวเอง อย่าพยายามเลียนแบบใคร ถ้าจะเลียนแบบก็เลียนให้สนุกสนาน 2. การแบ่งกลุ่มคน ถ้าใช้วิธีสารพัดอาจทาให้หายประหม่าและไม่เป็นทางการ เช่น แบ่งกลุ่มตามวันเกิด จันทร์ อังคาร, เปุายิงฉุบ แพ้ก็อยู่กลุ่มแพ้ ทุกคนมีค่า 1 บาท รวม 8 บาท ได้กลุ่มละ 8 คน หรือ 5 บาท ได้กลุ่มละ 5 คน ฯลฯ 3. ใช้เครื่องมืออย่างอื่นประกอบ เช่น เปิดเทปดนตรี, ร้องเพลง, ดีดกีตาร์, เม้าท์ออร์แกน, แคน ฯลฯ 4. สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง เทคนิคอันนี้ถือว่าเป็นมากที่สุดของผู้นากลุ่มสัมพันธ์ นากิจกรรมไปถึงครึ่ง ค่อนชั่วโมงยังไม่เป็นกันเองกับเปูาหมาย ความสัมพันธ์จะสาเร็จได้อย่างไร ยิ้มแย้มแจ่มใส พูดคุย ทักทาย ถามสารทุกข์สุกดิบ นั่งกินกาแฟ กินข้าวด้วย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องระวังอย่าให้เป็นกันเองกับใคร มากเป็นพิเศษ เพราะจะกลายเป็นเรื่องอื่นต่อไป 5. เตรียมมุขลูกเล่น ลูกฮาไว้ล่วงหน้า พวกที่เขาตลกได้เลยนั้นตอนแรก ๆ เขาก็ฝึกกันทั้งนั้น พอเป็น อัตโนมัติแล้วออกได้เป็นชุดเอง 6. ใช้ทรัพยากรรอบตัวให้เป็นประโยชน์มากที่สุด เช่น การจัดห้องอบรมใหม่ ไม่จาเป็นจะต้องแจ้งฝุาย สถานที่ ฝุายสถานที่จะต้องอนุญาตแล้วก็จัดคนมาขนเก้าอี้ เสียโอกาส เสียเวลา อาจขอให้ทุกคน ช่วยกันจัดห้องภายใน 5 นาที เท่านี้ก็เสร็จ แต่อย่าลืมว่าผู้นาที่ดีก็ควรช่วยด้วย จะได้ไม่มีความรู้สึกกว่า มีนายมีบ่าว ต้องจาไว้ว่าผู้นากลุ่มต้องทางานกับกลุ่ม และโดยกลุ่มเพื่อให้เปูาหมายสัมฤทธิผล การจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์มีกิจกรรมหลายชนิด 1. กิจกรรมต้อนรับสมาชิกใหม่ มักถูกจัดขึ้นในวันแรกของการฝึกอบรม ควรดาเนินการดังนี้ กิจกรรมการต้อนรับสมาชิกใหม่ 1.1 กล่าวต้อนรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1.2 การเตรียมความพร้อมฝึกปรบมือตามจังหวะ 1 ครั้ง, 2 ครั้ง, 3 ครั้ง .หรือ 10 ครั้ง เป็นต้น 2. กิจกรรมการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น มักถูกจัดต่อเนื่องจากการเตรียมความพร้อม 2.1 สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น การทาท่าประกอบเพลงสุขใจ โดยให้จับคู่หันหน้าหากัน เมื่อได้ ยินเปลี่ยนคู่ให้หาคู่ใหม่ทาท่าประกอบเพลงต่อ เมื่อได้ยินสัญญาณนกหวีดให้หยุดจับคู่แล้วนั่งลง สอบถามข้อมูลส่วนตัวซึ่งกันและกัน

9 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7

2.8

จับคู่เล่นเกมเปุายิงฉุบ ใครแพ้ให้ไปเกาะหลังคนชนะ แล้วให้ผู้ชนะนาคู่ตัวเองไปเปุายิงฉุบกับคู่ อื่นต่อไป เมื่อได้สมาชิก 4 คน ให้นั่งเป็นวงกลมพูดคุยสอบถามข้อมูลกัน ให้สมาชิกทั้ง 4 คน เกาะหลังผู้ชนะเต้นท่าม้าย่องไปหาทีมที่จะเปุายิงฉุบต่อไป หาทีมแพ้หรือ ทีมชนะ ให้รางวัลทีมแพ้ เช่น ให้ราวงคนพิการ ให้ทีมแพ้มารวมกับทีมชนะ ซึ่งมีจานวนทั้งหมด 8 คน นั่งเป็นวงกลมสอบถามข้อมูลซึ่งกันและกัน ให้สมาชิกทั้ง 8 คน นั่งเป็นวงกลมเหมือนเดิม เล่นเกมซ้อนมือ ให้นามือขวา วางบนศีรษะ เมื่อ ได้ยินสัญญาณให้วางมือซ้อนกันเรียงเป็นลาดับในแนวตั้ง ในแต่ละรอบวิทยากร จะเลือกให้คน ใดยืนขึ้น เช่น ให้คนที่วางมือล่างสุดยืนขึ้น ใครที่ถูกให้ยืนขึ้นจะได้รางวัลพิเศษ ให้ทีมทั้ง 8 คน ยืนเกาะหลังเดินท่าช้างไปหาทีมเปุายิงฉุบต่อ ทีมใดแพ้จะได้รับรางวัลพิเศษ ให้ ถึง 16 คน นั่งเป็นกลุ่มเดียวกัน เล่นเกมปฏิมากร ให้แต่ละกลุ่มฟังคาสั่งจากวิทยากรว่า ให้สร้างปฏิมากรเป็นรูปใด เช่น ให้สร้าง เป็นรูปรถมอเตอร์ไซค์ โดยใช้ร่างกายของสมาชิกสร้างปฏิมากรหรือประดิษฐ์ตามคาสั่ง ให้ส่ง ตัวแทนมานาเสนอผลงานในแต่ละรอบ ผู้สังเกตการณ์ให้คะแนนแต่ละกลุ่มแล้วรวมคะแนน ประกาศผล วิทยากรสรุปกิจกรรมฝากข้อเสนอแนะ

ตัวอย่างการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมมองเห็นคุณค่าของตนเองและมองเห็นคุณค่าของผู้อื่น 2. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมยอมรับข้อดีของผู้อื่นและรู้จักยอมรับข้อบกพร่องของตนเองแล้วพยายาม ปรับปรุงแก้ไขตนเอง 3. เพื่อฝึกให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมรู้จักการทางานร่วมกัน การเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี 4. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมสามารถนาข้อคิดที่ได้รับไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจาวันได้ 5. เพื่อให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมรู้จักปรับตัวและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแนะนาตัวเองให้ผู้อื่นรู้จัก 2. เพื่อให้กล้าเปิดเผยตนเอง 3. เพื่อให้รู้จักตนเอง อุปกรณ์ 1. กระดาษขาว (โรเนียว) คนละแผ่น 2. สีเมจิก 3. หนังสือแมกกาซีน ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 1. ให้ผู้เล่นเลือกรูปในแมกกาซีนที่ชอบและสะท้อนถึงความรู้สึก แนวคิด ความฝัน และนิสัยของตน ตัดรูปมาติดกระดาษขาวตามความต้องการที่จะตกแต่งให้สวยงาม เขียนบรรยายสั้น ๆ หรือแต่ง เป็นบทกวี บทกลอนที่เกี่ยวกับตัวเองลงบนกระดาษแผ่นนั้นด้วย ใช้เวลา 10 นาที 2. ผู้นาอาจจะให้แต่ละคนติดกระดาษของตนไว้ที่ผนังห้อง เพื่อให้คนอื่นจะได้อ่านทาความรู้จัก 3. ให้แต่ละคนเดินอ่านกระดาษของเพื่อน พร้อมกับเปิดเพลงเบา ๆ ค่าของเงินค่าของคน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นความสาคัญของผู้อื่น และให้คานึงถึงว่าคนทุกคนเกิดมามีค่าเท่าเทียม กันเสมอ

10 อุปกรณ์ 1. กระดาษแข็งตัดเป็นรูปหัวใจเท่าจานวนผู้ร่วมกิจกรรม โดยใช้กระดาษ 5 สี 2. กาหนดค่าของกระดาษสีรูปหัวใจเป็นค่าของเงิน เช่น สีเขียว 1 บาท สีแดง 10 บาท สีเหลือง 20 บาท สีฟูา 30 บาท สีชมพู 40 บาท โดยให้จานวนรูปหัวใจที่มีค่า 1 บาท มีจานวน มากกว่าสีอื่นเล็กน้อย ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 1. แจกกระดาษรูปหัวใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมคนละ 1 ดวง (ไม่ระบุสีแล้วแต่ดวง 2. บอกค่าของกระดาษสีให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับทราบ 3. ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยืนเป็นวงกลม 2 วง ให้เดินสวนกันตามจังหวะเพลง 4. เมื่อผู้นากิจกรรมสั่งให้จับกลุ่มจานวนกี่คน ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติตามคาสั่ง แล้วให้รวมเงิน ตามค่าของกระดาษสีรูปหัวใจ 5. กลุ่มไหนได้ค่าของเงินน้อยที่สุดจะต้องถูกลงโทษ ผู้นากิจกรรมออกคาสั่งเปลี่ยนจานวนการจับ ไปเรื่อยๆ(ตั้งข้อสังเกตได้ว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีค่า1บาท จะเป็นที่รังเกียจของผู้อื่นเนื่องจาก มีค่าน้อย) 6. ในครั้งสุดท้ายของการสั่ง ให้สั่งว่ารวมจานวนเท่าไรก็ได้ โดยให้จานวนเงินเป็นตัวเลขลงท้ายด้วย 1 บาท เช่น 111. 121, 131, 141 ฯลฯ 7. ผู้นากิจกรรมสรุปให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นความสาคัญของหัวใจสีต่าง ๆ ที่มีค่ามากน้อยว่าเป็น สิ่งสาคัญเท่ากันเปรียบกับชีวิตของคนทุกคน ซึ่งเกิดมาบนโลกใบนี้ทุกคนมีค่าเสมอ ไม่ว่าคุณจะ เป็นใครหรืออยู่ที่ไหน ประสานงานประสานใจ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อฝึกให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมเห็นความสาคัญของการทางานร่วมกัน 2. เพื่อฝึกให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมรู้จักปรับตัวและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น อุปกรณ์ ไม่มี ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 1. แบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่ม ๆ ละประมาณ 6 – 8 คน นั่งหันหน้าเข้าในวงกลม โดยให้หัว เข่าทั้งสองชนกันกับเพื่อน 2. สมมุติให้ 1 วงกลม หมายถึง 1 ครอบครัว แล้วให้แต่ละครอบครัวฝึกการทางานคือให้ปรบมือ โดยมีกติกาว่าต้องสัมผัสมือกับตัวเอง และสัมผัสมือกันภายในวงกลมตามจังหวะของเพลง ผู้นา กิจกรรมสรุปการทางานของแต่ละครอบครัว 3. ให้สมาชิกกลุ่มย้ายออกไปอยู่กลุ่มอื่น ครั้งแรกให้ไป 3 คน แล้วฝึกปรบมือแต่ไม่ให้ซ้าแบบเดิม ผู้นากิจกรรมสรุปการทางาน เมื่อมีสมาชิกใหม่การเริ่มทางานจะไม่ราบรื่น แต่ถ้ามีผู้ ประสานงานที่ดีกลุ่มก็จะปฏิบัติงานประสบความสาเร็จ 4. ให้สมาชิกย้ายกลุ่มเพิ่มขึ้นจาก 3 คน อาจจะเป็น 5 คน หรือจานวนครึ่งหนึ่ง แล้วฝึกการ ปรบมือแบบใหม่ ผู้นากิจกรรมสรุปกิจกรรม

11 5. ให้สมาชิกย้ายกลุ่มใหม่ทั้งหมดโดยไม่ให้นั่งที่เดิม และเมื่อไปถึงที่ใหม่ให้นั่งหันหลังเข้าวงกลม แล้วฝึกการปรบมือโดยนั่งหันหลัง ผู้นากิจกรรมสรุปการทางาน การปฏิบัติงานใดๆ ก็แล้วแต่ถ้า ไม่ได้พูดคุยปรึกษาหารือกันหัน หลังให้กัน งานจะประสบผลสาเร็จยาก ผู้เสียสละ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อต้องการชี้ให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมเห็นความสาคัญถึงวิธีการแก้ปัญหาว่าการแก้ปัญหาได้สาเร็จ ต้องอาศัยความสามัคคี 2. เพื่อต้องการให้ผู้ปฏิบัติกิจกรรมเห็นความสาคัญของการเสียสละ อุปกรณ์ ไม่มี ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 1. แบ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกเป็นกลุ่ม ๆ ละประมาณ 8 – 10 คน 2. ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมหันหน้าเข้าในวงกลม แล้วเอามือขวาของแต่ละคนไปจับมือซ้ายของสมาชิก ในกลุ่ม (จับมือแบบไขว้มือขวาทับมือซ้าย) 3. ผู้นากิจกรรมสั่งให้ทุกกลุ่มช่วยกันคิดแก้ปัญหาด้วยวิธีใดก็ได้ ให้หันหน้าเข้าในวงกลม แต่มือที่ จับไขว้กันจะต้องเปลี่ยนมาเป็นแบบจับมือธรรมดา คือ มือขวาของตัวเองจับมือซ้ายเพื่อนที่อยู่ ทางขวา และมือซ้ายของตัวเองจับมือขวาเพื่อนที่อยู่ทางซ้าย ซึ่งระหว่างที่ทากิจกรรมสมาชิก บางคนมือบิดไขว้กันอยู่จะต้องกลับตัวเอง หรือไม่ก็ต้องมีผู้เสียสละนอนลอดมือคนอื่น หรือก้าว ข้ามแขนเหมือนข้ามเชือกวงกลมจึงจะคลายเป็นปกติ ขณะที่ทากิจกรรมห้ามให้มือหลุดจากกัน โดยเด็ดขาด 4. ผู้นากิจกรรมสรุปในการคิดแก้ปัญหาใด ๆ นั้นจะต้องร่วมมือกัน จะคิดแก้ปัญหาคนเดียวไม่ได้ และเมื่อถึงขั้นลงมือปฏิบัติสิ่งสาคัญ งานจะสาเร็จได้จะต้องมีผู้ที่รู้จักเสียสละประโยชน์สุข ส่วนตนบ้าง ----------------------------------------2. กิจกรรมการละลายพฤติกรรม สร้างความคุ้นเคย เช่น เกมอะไรเอย 3. กิจกรรมการระดมความคิด เช่น เกมหวย ก. ข. 4. กิจกรรมการฝึกการทางานเป็นทีม เช่น เกมรวมกันเราอยู่ เกมยิงกลุ่ม 5. กิจกรรมการฝึกการยอมรับ เช่น เกมไม้จิ้มฟัน 6. กิจกรรมการฝึกการสังเกตและการแก้ปัญหา เช่น เกมห่วงสามัคคี 7. กิจกรรมการฝึกระดมสมองในการแก้ปัญหาและการใช้เหตุผล เช่น เกมสร้างโลกใหม่ 8. กิจกรรมการฝึกการยอมรับ เช่น เกมสัตว์ที่ฉันอยากเป็น

12

การเป็นผู้นาเกม ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกม เกม เป็นกิจกรรมที่เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายและเป็นการเล่นที่เด็กจะต้องได้รับการอธิบายแนะนา และสาธิตให้เด็กยอมรับเพื่อให้เกิดความเข้าใจในการเล่นอย่างถูกวิธี ยอมปฏิบัติตามกฎ กติกาและร่วมเล่น กันอย่างมีระเบียบแบบแผน แต่ที่สาคัญคือการเล่นเกมต้องทาให้เด็กเกิดความสนุกสนาน ร่าเริง และช่วย เสริมสร้างสุขภาพทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมไปพร้อม ๆ กันด้วย เกม เป็นกิจกรรมที่นามาใข้เพื่อความสนุกรื่นเริง ผ่อนคลายอารมณ์ เป็นกิจกรรมนอกแบบที่ สามารถนามาประยุกต์ดัดแปลงใช้ให้เหมาะกับโอกาส เวลา หรือช่วงจังหวะที่อานวยให้ซึ่งกิจกรรมนั้น ๆ สามารถนามาประยุกต์ดัดแปลงจัดให้ผู้เรียนได้มีการแสดงออก โดยมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ตลอดจนได้รับทักษะต่าง ๆ ที่สามารถนาไปสู่การพัฒนาในด้านต่าง ๆทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ความหมายของเกม เกม หมายถึง กิจกรรมการเล่นที่มีกฎ กติกาง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตาม ความเหมาะสม เพื่อให้เข้ากับสถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อมนั้น ๆ โดยมีจุดประสงค์เพื่อความสนุกสนาน เพลิดเพลิน จุดประสงค์ของการเล่นเกม 1. เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ร่าเริง ผ่อนคลายความตึงเครียด 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม 3. เพื่อปลูกฝังให้เด็กเกิดการยอมรับในกฎ กติกา และความสามารถของผู้อื่น 4. เพื่อฝึกให้รู้จักการเล่นและการทางานเป็นหมู่คณะ 5. เพื่อฝึกให้รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 6. เพื่อเสริมสร้างให้มีคุณลักษณะเป็นผู้นา – ผู้ตามที่ดี 7. เพื่อฝึกให้เด็กรู้จักเล่นและคิดอย่างสร้างสรรค์ 8. เพื่อฝึกทักษะอันเป็นพื้นฐานของการเล่นกีฬาใหญ่ ความสาคัญของเกม 1. ทาให้มีจิตใจสดชื่นแจ่มใส เบิกบาน สนุกสนาน ร่าเริง และสมองปลอดโปร่งไม่เคร่งเครียด 2. ทาให้ร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพที่ดี 3. มีอารมณ์มั่นคง และสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ 4. ทาให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง สันติสุข 5. ทาให้เกิดการกระตุ้นด้านปฏิภาณ ไหวพริบในการเล่น คิดอย่างสร้างสรรค์และแก้ปัญหาเฉพาะ หน้าได้ดี 6. ทาให้เกิดพัฒนาการด้านภาวะผู้นาและเป็นผู้ตามที่ดี

13 7. ทาให้เกิดการชื่นชอบ และชื่นชมในภูมิปัญญาไทย วัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น 8. ทาให้เกิดทักษะพื้นฐานที่ดีที่สามารถนาไปใช้ในการเล่นกีฬาใหญ่ได้ดี ประโยชน์ของเกม ประโยชน์ของการเล่นเกม ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ หลายด้าน ได้แก่ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ ดังนี้ 1. สร้างความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตึงเครียด 2. เสริมสร้างทักษะการปรับตัวในการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน 3. ส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางร่างกายที่ถูกต้อง 4. เสริมสร้างทักษะทางการกีฬา ทาให้ร่างกายแข็งแรง 5. ช่วยส่งเสริมและพัฒนาสมองในด้านไหวพริบ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 6. ช่วยส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม โดยการเล่นตามกฎ กติกา 7. สร้างแรงจูงใจ กระตุ้นในด้านการเตรียมความพร้อมของร่างกายและสมอง 8. เสริมสร้างสัมพันธภาพในสังคม 9. ครูสามารถนาวิธีการเล่นมาใช้ในการนาเข้าสู่บทเรียน หรือประกอบการเรียนวิชาต่างๆ เพื่อ เป็นแรงกระตุ้นเสริมสร้างความเข้าใจวิชาต่าง ๆให้ง่ายขึ้น ( นภพร ทัศนัยนา, 2538 : 12) ด้วยเหตุนี้ การใช้เกมประกอบการเรียนการสอนในวิชาหรือกิจกรรมต่าง ๆ จึงมีความจาเป็น เพื่อให้เกิดการพัฒนาทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมต่อไป (จรินทร์ ธานีรัตน์, 2524 : 1–2) ลักษณะของเกม เกม เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติหรือมีส่วนร่วมในลักษณะบรรยากาศของการแข่งขัน แทรกอยู่ด้วย โดยอาจแข่งขันกับตัวเอง แข่งกับเวลา หรือแข่งขันกับบุคคลอื่นภายใต้กติกาหรือเงื่อนไขที่ ว่องไว กิจกรรมที่จัดจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในสิ่งสิ่งหนึ่งตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ เช่น การสื่อ ความหมาย การทางานร่วมกัน การสร้างความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น การเลือกใช้กิจกรรมใดนั้นขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ดังนั้นครูผู้สอนต้องมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เสียก่อนที่จะนาเกมต่าง ๆ มาใช้ ลักษณะทั่วไปโดยสรุปของเกม มีดังนี้ 1. มีจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ ซึ่งจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของเกมต่าง ๆ แต่ละเกมจะ แตกต่างกันออกไป 2. มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด ในระยะเวลาสั้น ๆ 3. เกม บางเกมมีลักษณะการเล่นที่ต้องอาศัยบริเวณที่ว่างและกาหนดขอบเขตที่แน่นอน 4. มีกติกา กติกาของเกมช่วยให้ผู้เรียนรู้ถึงวิธีเล่นและการปฏิบัติตนในการมีส่วนร่วมแต่ละเกม 5. เกม เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่ทุกคนจะได้สนุก ร่วมกัน พร้อมทั้งได้รับสาระและข้อคิดจากเกมนั้น ๆ (นภพร ทัศนัยนา, 2538 : 11-12) เทคนิคและวิธีการสอนเกม เนื่องจากเกมเป็นการเล่นที่มีกฎเกณฑ์ มีกติกาในการเล่น และมีวัตถุประสงค์ของการเล่นที่ หลากหลายรูปแบบ แต่ยังคงเน้นเพื่อให้เกิดความสนุกสนาน พร้อม ๆ กับการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เล่น โดยทั่วถึงกัน ผู้สอนเกมจึงต้องมีความเข้าใจอย่างแท้จริงเกี่ยวกับเทคนิคการสอนเกม ซึ่งประกอบด้วย สาระสาคัญ ดังนี้

14 ขั้นตอนการสอนเกม ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1. เตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย ทางด้านจิตใจ 2. บอกชื่อเกมที่จะเล่นในแต่ละครั้งให้ผู้เรียนทราบ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ 3. จัดรูปแบบการเล่นเกม ครูผู้สอนจะต้องจัดรูปแถวให้เหมาะสมกับเกมที่สอน โดยเน้นให้ทุกคน ได้เห็นชัดเจน และสะดวกในการเล่น 4. อธิบายกฎ กติกา วิธีการเล่น โดยยึดหลักสั้น ง่าย กะทัดรัด ได้ใจความ 5. ทดลองหรือสาธิตการเล่น ถ้าเป็นเกมที่ยากครูควรจะมีการสาธิตให้ผู้เรียนได้เข้าใจอย่างชัดเจน ก่อน 6. ดาเนินการเล่นหรือแข่งขัน 7. สรุปผลการแข่งขัน สามารถทาได้ 2 ลักษณะ คือ 7.1 สรุปผลการแข่งขัน 7.2 สรุปคุณธรรม จริยธรรมที่ได้รับจากการเล่นเกม 8. บันทึกปัญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการสอนเกมแต่ละครั้ง เพื่อนาไปแก้ไขในครั้งต่อไป หลักการสอนเกมที่ดี 1. ทาแผนการสอนไว้ล่วงหน้า 2. ศึกษาวิธีการเล่นเป็นอย่างดี 3. เตรียมความพร้อมให้ผู้เล่นก่อนการสอนเสมอ 4. เริ่มสอนจากง่ายไปหายาก 5. อยู่กับที่ไปสู่การเคลื่อนที่ 6. สอนจากช้าไปหาเร็ว 7. ตรงตามความต้องการและพัฒนาการของเด็ก 8. จัดกิจกรรมหนักสลับเบา 9. จัดกิจกรรมแปลก ๆ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ 10. จัดกิจกรรมเหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน 11. ใช้ภาษาสั้น ๆ ง่าย กะทัดรัด 12. เน้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม 13. ท้าทาย เร้าใจ มีการแข่งขัน 14. เปลี่ยนแปลงวิธีการเล่นเสมอ เทคนิคการสร้างบรรยากาศ การสร้างบรรยากาศ มีความสาคัญต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อมีปัญหา ผู้นาเกมต้องต้องปรับให้บรรยากาศเกิดความเหมาะสม บรรยากาศ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. บรรยากาศทางกายภาพ เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ โต๊ะ เป็นต้น 2. บรรยากาศทางด้านจิตภาพ เช่น ความสบายใจ ความสมัครใจ ความกระตือรือร้น เป็นต้น ซึ่งบรรยากาศในส่วนนี้มีความจาเป็นมากว่าบรรยากาศทางกายภาพ

15 การสร้างบรรยากาศ 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับกลุ่ม ด้วยการพูดคุย ทักทายอย่างเป็นมิตร เป็นกันเอง เพื่อให้เกิด ความคุ้นเคย การยอมรับซึ่งกันและกัน ซึ่งจะส่งผลดีในการปฏิบัติกิจกรรม 2. เตรียมความพร้อมของผู้นาเกม - สื่อ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น วีดีทัศน์ สไลด์ แผ่นใส เป็นต้น - กิจกรรม ควรวางแผนการนาเกมต่าง ๆ มาทบทวน เพื่อขณะที่นาเกมจะได้ดูเป็น ธรรมชาติเกิดความเชื่อมโยง ต่อเนื่องของกิจกรรมที่หลากหลายอย่างสร้างสรรค์ให้ กระชับ 3. เตรียมความพร้อมของผู้ร่วมกิจกรรม โดยการปรบมือเป็นจังหวะตามสั่ง หรือฝึกสมาธิ ด้วย การวาดภาพตนเอง ทั้งนี้ ต้องพยายามให้ทุกคนแสดงออก เป็นการกระตุ้นให้กลุ่มเกิด ความรู้สึกสนุกสนานคึกคักขึ้น สรุป การนาเกม ผู้นาเกมควรจะต้องมีการวางแผนการดาเนินการ การเตรียมการ ทั้งตัวผู้นาเกม และ ผู้ร่วมกิจกรรม ตลอดจนมีบุคลิกลักษณะของความเป็นผู้นาเกมที่ดี มีเทคนิคการนาเกม มีเทคนิคในการ สร้างบรรยากาศ ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนหรือผู้ร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และปฏิบัติ กิจกรรม ความปลอดภัยในการเล่นเกม จรินทร์ ธานีรัตน์ (2524 : 6-7) ได้ให้ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเล่นเกม มีดังนี้ 1. เกี่ยวกับตัวนักเรียนเอง สุขภาพทั่วไปก่อนเล่นเกมต้องปกติ ไม่เจ็บไข้ได้ปุวย ร่างกาย พร้อมที่จะเล่นเกมนั้นๆ 2. อธิบายวิธีเล่นและกฎ กติกาแล้ว ควรตั้งกฎเกณฑ์เพื่อปูองกันอุบัติเหตุด้วย 3. การแบ่งหมู่ พวก และการจัดระบบก็ดี ให้คานึงถึงความปลอดภัย เช่น เด็กเล็กมารวม กับเด็กโต ผู้หญิงรวมกับผู้ชาย ในบางเกมอาจเกิดอันตรายได้ ตัวอย่างกิจกรรมเตรียมความพร้อม ความจาไวเลิศ ให้แต่ละคนบอกสิ่งที่ตนเองจาได้ อุปกรณ์ : ไม่มี วิธีเล่น ให้แต่ละคนนึกถึงสิ่งที่ตนเองจาได้มากที่สุดโดยแยกประเภท เช่น ผลไม้ ,เครื่องใช้ในครัว , กับข้าว , ขนมไทย ยี่ห้อสินค้า ,เครื่องเขียน ,รถยนต์ ฯ จับเวลาใน 15 วินาที ใครสามารถบอกสิ่งที่ตนเองจดจาได้มาก ที่สุดเป็นผู้ชนะ บทเรียนจากเกม : ให้ช่วยกันแบ่งปันว่าทาไมจึงสามารถจาสิ่งต่างๆ ได้และทาเวลาได้ดี

16 ใครคู่ใคร ให้สมาชิกในกลุ่มลองจับคู่ อุปกรณ์ : ไม่มี วิธีเล่น เลือกชาย 5 คนหญิง 5 คน หรือมากกว่านั้น แล้วสมมติอุปนิสัย และฐานะแตกต่างกัน ออกไป เป็นต้นว่า ใจเย็น ,ขี้บ่น , ก้าวร้าว , ขี้เหนียว , พูดเร็ว , ชอบจับผิด ฯ , ฐานะ ร่ารวย ,ยากจน ,พอมีพอกิน , เป็นหนี้สิน ,เป็นนายทุน , ฯ (แล้วแต่จะคิดเพิ่มเติม) ต่อจากนั้นให้สมาชิกในกลุ่มจับคู่ว่าใครควรจะคู่กับใคร แล้วบอกเหตุผลของตน ต่อจากนั้นถามแต่ละคู่ว่ารู้สึกอย่างไร ยอมรับในเหตุผลของคนอื่นๆ หรือไม่ (สมาชิกแต่ละคนอาจจะแสดงความคิดเห็นไม่ตรงกัน ขอให้ทุกคนมีโอกาสพูดเพื่อเปรียบเทียบเหตุผลของกัน และกัน)) บทเรียนจากเกม เมื่อรับทราบเหตุผลของแต่ละฝ่ายจะพบว่ามีความหลากหลาย ฟังดูอาจจะถูกต้องไปหมดแต่จริงๆ แล้วอาจจะใช่หรือไม่ใช่เป็นไปได้ทั้งนั้น สรุปว่าในชีวิตประจาวัน หรือในเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามาเราไม่ สามารถสรุปทุกอย่างตามเหตุผลของตนเองได้ถูกต้องทั้งหมด

ใครแม่นกว่ากัน ประภท : ในห้องประชุมวิธีเล่น ขยากระดาษโยนลงถังกระดาษ ประเภท : ในห้องประชุม อุปกรณ์ : กระดาษหนังสือพิมพ์เก่า ๆ ถังกระดาษ วิธีเล่น : แบ่งผู้เล่นออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ เท่า ๆ กัน แจกกระดาษหนังสือพิมพ์เก่า ๆ 1 ฉบับ พร้อมถึง กระดาษที่พับจากหนังสือพิมพ์ หลังจากนั้น ให้ทุกกลุ่มฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์ขย้าเป็นลูกกลม ๆ แล้ว โยนออกไปให้ลงถัง ซึ่งตั้งห่างออกไป 3 เมตร ในเวลาที่เท่ากัน กลุ่มไหนโยนลงถังมากที่สุดชนะ บทเรียนจากเกม : เกมนี้ดูง่าย แต่ไม่ง่ายอย่างที่คิด เหมือนชีวิตเราที่อะไร ๆ อาจจะดูง่าย แต่อาจจะมีปัญหา บางอย่างซ่อนอยู่ รอเราอยู่ในอนาคต สิ่งที่ดีที่สุดคือพึ่งพากาลังจากพระเจ้าในทุกเรื่องของชีวิต

17 งูกินหาง วิ่งไล่จับคนหางแถว อุปกรณ์ : ไม่มี วิธีเล่น : ให้แบ่งเป็น 2 ทีม มีคนมากเท่าไรก็ยิ่งสนุก และจับเอวกันเหมือนเล่นแม่งู ต่อจากนั้นให้แต่ละแถว ร้องเพลงอะไรก็ได้ ร้องอย่างต่อเนื่อง และหัวแถวห้ามขยับเขยื้อน ต้องยืนเป็นหลัก (ห้ามร้องเพลงเดียวกัน และห้ามเพลงล่ม) ต่อจากนั้นให้แต่ละทีมวิ่งไปจับคนหางแถวของอีกทีมหนึ่งให้ได้ ถ้าทาได้ชนะ ข้อตัดสินถ้าร้องเพลงล่มแพ้ และถ้าจับคนหางแถวของอีกฝ่ายหนึ่งไมได้ก็แพ้เช่นกัน บทเรียนจากเกมส์ : สามัคคีคือพลัง จากันได้บ่ สาหรับ ที่มีสมาชิกใหม่หลายคน อุปกรณ์ : ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ วิธีเล่น 1. ให้สมาชิกแต่ละคน แนะนาชื่อเล่นหรือชื่อจริง จนครบทุกคน 2. ทุกคนปรบมือเป็นจังหวะ 2 ครั้ง และตบขาตัวเอง 2 ครั้ง (เป็นจังหวะที่เท่าๆกัน 4 จังหวะ) ไปเรื่อยๆ 3. ให้ผู้นาเริ่มขานชื่อเล่นหรือชื่อจริงของตัวเองในจังหวะปรบมือที่ 1 และขานชื่อของผู้อื่น ในจังหวะ ปรบมือที่ 24. จังหวะตบขาจังหวะที่ 3 และจังหวะที่ 4 ไม่ต้องขานชื่อ 5. ให้ผู้ที่ถูกขานชื่อ ให้ขานชื่อตัวเองในจังหวะปรบมือที่ 1 และขานชื่อของผู้อื่นๆ ในจังหวะปรบมือที่ 26. จังหวะตบขา จังหวะที่ 3 และจังหวะที่ 4 ไม่ต้องขานชื่อ 7. ทาวนตั้งแต่ข้อ 3 ถึง ข้อ 6 โดยให้ครบ ทุกคน เพื่อให้สมาชิกจาชื่อกันเองได้คล่อง บทเรียนจากเกม : ทาให้สมาชิกที่มาใหม่ไม่รู้สึก เคอะเขิน และรู้จักกันมากขึ้น และสมาชิกเก่าก็สามารถสร้างความรู้ จักกับสมาชิกใหม่ได้มากขึ้น และสามารถจาชื่อของกันและกันได้ดีขึ้น บิดขี้เกียจ ให้แต่ละคนคิดท่าบิดขี้เกียจของตนเอง อุปกรณ์ : ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ วิธีเล่น : ให้แต่ละคนเริ่มท่าบิดขี้เกียจของตนเองตามที่คิดไว้ ควรจะเป็นท่าที่แปลกพิศดารอย่างที่คนอื่นคิด ไม่ถึง แล้วให้สมาชิกในกลุ่มทาตาม และผลัดกันเป็นผู้นาจนหมดคนในกลุ่ม บทเรียนจากเกม : เพื่อสร้างความสัมพันธ์ เน้นความสนุกสนาน ชี้ให้เห็นว่าในโลกนี้ไม่มีอะไรจาเจ แม้แต่ท่าบิดขี้เกียจ เราก็ยังสามารถสร้างสรรค์ท่าใหม่ๆ ได้ ให้เอาความสามารถนี้ไปใช้กับสิ่งอื่นๆ ด้วย

18 ไปให้ถึงหลักชัย : ปิดตาเดิน อุปกรณ์ : เชือก วิธีเล่น : แบ่งทีมตามจานวนคน เลือกตัวแทน 1 คนเพื่อเข้าแข่งขันโดยปิดตาให้สนิท เพื่อไม่ให้เห็น สนามแข่งขัน ต่อจากนั้น เอาเชือกขึงคดเคี้ยวไปมา สูงๆ ต่าๆ... โดยบางระยะทางจะสูงพอเอื้อมถึง บาง ระยะทางต่าจนต้องรอดใต้โต๊ะ มุดใต้เก้าอี้ ให้ได้ระยะทางพอควร ให้ผู้แข่งขันที่ปิดตาไว้แล้วเดินเกาะเส้น เชือกไป จับเวลา ใครถึงจุดหมายปลายทางก่อน เป็นผู้ชนะ ให้ผู้แข่งขันครั้งที่ 2 ให้ใครก็ได้ในแต่ละทีมเกาะ เชือกในเส้นทางเดียวกัน ทาอย่างเดียวกัน และไม่ต้องปิดตา จับเวลา ใครถึงจุดหมายปลายทางก่อนชนะ บทเรียนจากเกม : เปรียบการดาเนินชีวิตในความสว่าง และความมืด

ปรุงแต่งชีวิต ให้บอกวิธีปรุงแต่งชีวิตของตนเอง อุปกรณ์ : ไม่มี วิธีเล่น : แบ่งเป็นกลุ่มตามจานวนคน 3 - 4 คน ต่อจากนั้นให้แต่ละกลุ่มบอกเคล็ดลับความอร่อยของ อาหารสักอย่างหนึ่ง เช่น ผัดผัดบุ้ง เคล็ดลับอยู่ที่ ต้องผัดไฟแรง ๆ , สุกี้ เคล็ดอยู่ที่ของต้องสด น้าจิ้มต้องถูก ลิ้น ฯ ต่อจากนั้นให้ช่วยกันคิดว่าเคล็ดลับที่จะช่วยปรุงแต่งชีวิตของเราให้มีความสุขควรจะเป็นอย่างไร เป็น ต้นว่า เริ่มวันใหม่ด้วยรอยยิ้ม , ด้วยอาหารอร่อย ๆ , ด้วยการงดอ่าน น.ส.พ. ,ด้วยการออกกาลังกาย ฯลฯ บทเรียนจากเกม : หนุนใจให้ดูแลสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิต มนุษย์ต่างดาว ให้ 2 คน ทาตรงข้ามกัน อุปกรณ์ : หมวก 2 ใบ วิธีเล่น : ให้เลือกคนหนึ่งคนใดในกลุ่มสวมหมวกไว้ และถือไว้อีกใบหนึ่ง และสมมติว่าคนนี้เป็นมนุษย์ต่าง ดาวและถ้านาหมวกใบที่ถืออยู่นั้นไปสวมให้ใคร ก็ให้คนนั้นทาตรงกันข้ามกับที่มนุษย์ต่างดาวทา เช่น ถ้ามนุษย์ต่างดาวยืน คนที่โดนสวมหมวกจะต้องนั่ง ถ้ามนุษย์ต่างดาวเอียงซ้าย คนที่โดนสวมหมวกต้อง เอียงขวา เป็นต้น ถ้าทาตามมนุษย์ต่างดาวถือว่าแพ้ บทเรียนจากเกม : ในชีวิตจริงมนุษย์เราอยู่ท่ามกลางการล่อลวงของสิ่งต่าง ๆ

19 หาคา แบ่งสมาชิกในเซลเป็นกลุ่ม แจกพยัญชนะ และสระ ในภาษาไทยจานวนเท่ากัน อุปกรณ์ : พยัญชนะ และสระ ในภาษาไทย วิธีเล่น : หลังจากแบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว นาพยัญชนะ และสระ ในภาษาไทยมอบให้แต่ละกลุ่ม ให้แข่งกัน แต่งคาหรือข้อความให้ได้มากที่สุด ใครทาได้มากกว่าชนะ บทเรียนจากเกม : ชี้ให้เห็นถึงการช่วยเหลือกันและกัน การแบ่งปันความรู้ ความสามารถ

หาเหรียญ อุปกรณ์ : โต๊ะ – เก้าอี้ ,เหรียญ 1 บาท วิธีเล่น : ให้หาเหรียญให้แต่ละคนนั่งล้อมวงกัน เอามือไว้ใต้โต๊ะ ส่งเหรียญบาทต่อ ๆ กันไป เลือกคนใดคน หนึ่งเป็นผู้ทายว่าเหรียญบาทอยู่ที่ใคร ตอนส่งเหรียญให้แกล้งทาเป็นว่าได้ส่งเหรียญไปแล้ว แต่เหรียญยังอยู่ ที่ตนเองหรือทาท่าทางส่งไปทางขวา แต่ส่งเหรียญไปทางซ้าย ฯ ให้ผู้ทายสับสน ตอนทายเหรียญ ให้ทุกคน กามือเอามาวางไว้บนโต๊ะ แล้วให้ทายว่าเหรียญอยู่ในมือของใคร บทเรียนจากเกม : ให้ผู้ที่ทายบอกเหตุผลว่าทาไมเขาจึงคิดว่าเหรียญอยู่ที่นั่น เห็นพิรุธอะไร และถ้าหากทายผิดก็ให้ บอกด้วยว่าทาไมคิดเช่นนั้น ส่วนกลุ่มผู้ซ่อนเหรียญก็เล่าถึงกลอุบายที่ตนเองทาให้ผู้ทายสับสน สรุปภาพลวง ตา และความสับสนเกิดขึ้นได้เสมอ อย่าประมาทกับชีวิต บก – น้า – อากาศ อุปกรณ์ : ไม่มี วิธีเล่น: ให้ผู้เล่นนั่งเป็นวงกลมแล้วร้องว่า บก น้า อากาศ ถ้าคนนาชี้ใครแล้วบอกว่า "บก" ให้พูดสัตว์ บกมาหนึ่งชนิด , น้า" ให้พูดสัตว์น้ามาหนึ่งชนิด "อากาศ" ให้พูดสัตว์ปีกมาหนึ่งชนิด ใครช้าหรือผิด ให้ ขึ้นมาเป็นคนนาเกมต่อไปพลิกแพลง อาจบอกว่า "บก" ให้พูดสัตว์น้าและปีก อย่างละหนึ่งชนิดแทนก็ได้

ผึ้งแตกรัง เล่นเป็นกลุม่ กลุม่ ละ 3 คน สับเปลี่ยนหมุนเวียนตามคาสั่งของผู้นากิจกรรม เพื่อให้รู้จักกันอย่างทั่วถึง วัตถุประสงค์ เพื่อให้รู้จักกันเร็วขึ้น จานวนผูเ้ ล่น 30 - 50 คน

20 อุปกรณ์ : ไม่มี สถานที่ ห้องอบรม เวลา 20 - 30 นาที วิธเี ล่น 1. ผู้นาให้ผู้เล่นจับกลุ่มกัน 3 2. กลุ่ม 3 คน จะต้องเป็นรัง 2 คน เป็นผึ้ง 1 คน 3. เมื่อผู้เล่นจับกลุ่มตามที่ผู้นากาหนดให้แล้ว ผู้เล่นที่เป็นรังให้จับมือกันไว้ทั้งสองข้าง 4. ผู้เล่นที่เป็นผึ้งจะอยู่ระหว่างผู้เล่นที่เป็นรังทั้งสองคน คืออยู่ตรงกลางอ้อมแขนที่อบอุ่น 5. คาสั่งที่ผู้นากิจกรรมบอกผู้เล่น มีดังนี้ • เปลี่ยนรัง • ย้ายรัง • รังแตก เปลี่ยนรัง หมายถึง ผู้ที่เป็นผึ้งเปลี่ยนไปอยู่รังอื่น ผู้ที่เป็นรังให้อยู่กับที่ ย้ายรัง หมายถึง ผู้ที่เป็นรังเปลี่ยนไป ผู้ที่เป็นผึ้งให้อยู่กับที่ รังแตก หมายถึง สร้างรังกันใหม่ ใครจะเป็นผึ้งหรือรังก็ได้ แต่ต้องไม่ให้ซ้ากลุ่มเดิม ผ้าห่มซ่อนตัว จุดประสงค์: รู้จักชื่อกันและกัน อุปกรณ์: ผ้าห่มผืนใหญ่ ๆ หนา ๆ เวลา 20 นาที วิธีเล่น แบ่ง ผู้เล่นเป็นสองทีมหันหน้าเข้าหากันโดยมีผู้ดาเนินเกมถือผ้าห่มไม่ให้ทั้งสอง ทีมเห็นหน้า กันละทีมส่งตัวแทนมานั่งหน้าผ้าห่ม ตัวแทนต้องเรียกชื่อของตัวแทนทีมตรงข้าม ใครเร็วกว่าชนะและตัว แทนที่แพ้ต้องย้ายไปอยู่ทีมที่ชนะ ยิงเรือ วัตถุประสงค์ จานวนสมาชิก อุปกรณ์ : สถานที่ เวลา วิธีเล่น 1. 2. 3. 4.

เพื่อให้รู้จักการวางแผน และการแก้ไขปัญหา 30 - 40 คน ไม่มี ห้องอบรม 20 - 30 นาที ให้จับกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน และไม่ควรเกิน 12 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อเรือของกลุ่ม ห้ามเกิน 3 พยางค์ ให้แต่ละกลุ่มจาชื่อเรือของกลุ่มต่าง ๆ ให้ได้ทั้งหมด ผู้นากิจกรรมกาหนดให้กลุ่มหนึ่งเริ่มเล่น

21 5. คนที่หนึ่งของกลุ่มพูด ปิ๊ก คนที่ 2 พูด ปั๊ก คนสุดท้ายพูด โปูง พร้อมชี้มือไปยัง เรือใดลาหนึ่งแล้วเอ่ยชื่อเรือลานั้นให้ถูกต้อง 6. เรือลาที่ถูกยิงให้เริ่มเล่นเช่นเดียวกันทันที 7. เรือลาใดที่เล่นติดขัด ออกคาสั่งไม่เป็นไปตามลาดับ เรียกชื่อเรือที่ต้องการยิงผิดหรือ ยิงผิดลา ยิงย้อนกลับไปยังเรือที่เพิ่งยิงมา ถือว่าผิดกติกาให้เรือลานั้นยุติการเล่น 8. ผู้นาควรสังเกตการเล่นให้ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ถ้ากลุ่มใดติดขัดก็ให้กลุ่มใดก็ได้ เริ่มเกมใหม่ อย่าให้การเล่นต้องสะดุด เมื่อเหลือเรือ 3 ลา คือปัญหาที่จะต้องตัดสิน เพราะถ้าให้เล่นต่อไปก็จะยิงเรือวนกันอยู่แค่ 3 ลา เท่านั้น

ตัวอย่างกิจกรรมให้รู้จักกันและกัน หนังสือพิมพ์ อุปกรณ์ หนังสือพิมพ์ เวลา 20 นาที จานวนผู้เล่น กลุ่มละสิบคน วิธีเล่น แบ่ง ผู้เล่นเป็นกลุ่มย่อยสิบคน ให้คนหนึ่งอยู่กลางวงพร้อมกับกระดาษหนังสือพิมพ์ม้วน ให้คนที่นั่งล้อมวงพูดชื่อเพื่อน คนที่ถูกเรียกชื่อคนอื่นต่อไปเรื่อย ๆ คนตรงกลาง ต้องรีบใช้หนังสือพิมพ์ แตะขาเพื่อนคนที่เรียกชื่อ อย่างรวดเร็วก่อน ที่เขาจะเรียกชื่อคนอื่นต่อไป ถ้าคนที่ถูกเรียกชื่อพูดช้า ถูกแตะ ก็จะต้องมายืนกลางวงแทน ตามล่าหาชื่อ จุดประสงค์ รู้จักกันละกันมากกว่าแค่ชื่อ อุปกรณ์ กระดาษตามล่าคนละแผ่น เวลา 10 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น เขียน ชื่อตัวเองบนหัวมุมขวาของกระดาษ เดินไปรอบ ๆ พูดคุยกับคนที่คุณไม่รู้จักแล้วบันทึก ความคล้ายคลึง (อาทิ ชอบเล่นหมากรุกเหมือนกัน) และต่างกัน (อาทิ ชอบใส่กางเกงยีนเหมือนกันแต่ว่า เพื่อนใหม่ชอบใส่แบบขาสั้น) ที่คุณมีกับ เพื่อนใหม่ให้ได้สิบคน ตัวอย่าง ชื่อ ความเหมือน ความต่าง

22 เชื้อโรค จุดประสงค์ เพือ่ ความสนุก สร้างจินตนาการ อุปกรณ์ ขวดเปล่าหรือสิง่ สมมุตอิ น่ื ๆ เวลา 10 - 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น ผู้เล่นนั่งเป็นวงกลม ตรงกลางมีขวดเปล่าพร้อมฝาปิดวางอยู่ ผู้ดาเนินเกมเข้าไปตรงกลางอธิบายว่า ขวดนี้ มีเชื้อโรคอยู่ใครก็ตามที่เปิดฝา ขวดนี้จะได้รับเชื่อโรคนั้นและมีอาการแตกต่างกันออกไป หากผู้ติด เชื้อไป แตะใครคนนั้นจะได้รับเชื้อโรคไปด้วย ผู้ดาเนินเกมเปิดขวด แสดงอาการของโรค (เช่น คันทั้งตัว หัวเราะไม่หยุด มือสั่น) ค่อย ๆ คลานกลับมาแตะผู้เล่นคนอื่นๆ ผู้เล่นที่ถูกแตะต้องแสดงอาการเดียวกัน กับผู้ที่แตะ แล้วคลานไปแตะขวดตรงกลาง แล้วคลานกลับมาด้วยอาการใหม่ๆ แตะผู้เล่นคนอื่นๆ ต่อไป โดมิโน จุดประสงค์ สร้างความสนิทสนม หาทางออกโดยไม่พูด อุปกรณ์ รองเท้า เวลา 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น ทุกคนถอดรองเท้าออกให้หมดแล้วกองไว้รวมกัน หลับตาหยิบรองเท้าข้างซ้ายของใครก็ได้มาใส่ สองข้างไม่ เหมือนกัน จากนั้นให้ตั้งแถวเรียงกันเป็นโดมิโน อาทิใส่ข้างซ้ายของนาย ก. คนที่มายืนต่อ กันต้องใส่ข้างขวาของนาย ก. เช่นกัน โดยที่ทาแบบไม่ใช้เสียง ลูกบอลกระดาษขยา จุดประสงค์ เพื่อความสนุก รู้จักกันมากขึ้น อุปกรณ์ กระดาษหนังสือพิมพ์ กระดาษหน้าเดียว ปากกา เพลงเปิดคลอ เวลา 10 - 20 นาที จานวนผู้เล่น 10 - 20 คน การเตรียมการ เขียนคาถามหรือคาสั่งไว้ในกระดาษทุกแผ่น ขยากระดาษเป็นวงกลมซ้อนๆ กัน จนได้ลูกบอลกระดาษลูกใหญ่ วิธีเล่น ผู้เล่นนั่งเป็นวงกลม เปิดเพลง ส่งลูกบอลกระดาษไปเรื่อย ๆ เพลงหยุดกระดาษอยู่ที่ใครคนนั้น เปิดกระดาษ ชั้นแรก อ่าน อ่านแล้วทาตามคาสั่งหรือตอบคาถาม ข้อแนะนา ใน กระดาษอาจเขียนดังนี้ ความคาดหวังใน การมาร่วมกิจกรรม สีที่ชอบ สิ่งที่ทาเมื่อวาน สัตว์เลี้ยงโปรด ความฝันสู งสุด จงร้องเพลงหนึ่ง สิ่งที่ประทับใจในค่าย เป็นต้น

23 ตัวอย่างกิจกรรมสร้างกลุ่ม เข้าแถว จุดประสงค์ ร่วมมือกัน อุปกรณ์ ไม่มี เวลา 10 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น ผู้เล่นแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 8 - 10 คน ผู้เล่นต้องเข้าแถวตามคาสั่งโดยห้ามใช้เสียง ข้อแนะนา เข้าแถวตอนตามอายุ วันเดือนปีเกิด ความยาวของเส้นผม ปฏิมากร จุดประสงค์ ทางานด้วยกัน แสดงความรูส้ กึ ความคิดสร้างสรรค์ อุปกรณ์ ไม่มี เวลา 45 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น ผู้เล่นจับคู่กัน คนหนึ่งเป็นปฏิมากร อีกคนเป็นดินเหนียว โดยมีปฏิมากรจัดท่าทางของดินเหนียว ให้เป็นไปอย่างที่ต้องการตามหัวข้อกาหนด (อาทิ ร่าเริง อกหัก ทางานบ้าน) หรืออิสระ ให้เวลาสามนาที ผู้ดาเนินเกมเดินดูอาจมีการสอบถามให้ปฏิมากรอธิบายผลงานของตนเอง จากนั้นสลับกันผู้เล่นจับกลุ่มใหม่ สี่คนโดยรวมอีกคู่หนึ่งเข้าด้วยกันแล้วปั้นดินเหนียวแบบ เดิมโดยมีปฏิมากรสองคนดินเหนียวสองคน เช่นนี้ เรื่อยไปแล้วเพิ่มจานวนเท่าตัวไปเรื่อย ๆ อาจเปลี่ยนหัวข้อกาหนดให้ยากขึ้นเป็นเรื่องราวอาจให้เวลามาก ขึ้น คาแนะนา หัวข้อปฏิมากร อาจเป็นอารมณ์ด้านดีด้านร้าย เช่น ไว้วางใจ ความขัดแย้ง สงคราม สันติภาพ เป็นต้น ปั้นดินให้เป็นดาว จุดประสงค์ เรียนรู้ที่จะตัดสินใจรวมกัน สร้างอะไรบางอย่างร่วมกัน ใช้ประสาทสัมผัสทางใจ อุปกรณ์ ดินเหนียวหรือดินน้ามัน ผ้าปิดตา เวลา 30 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น ผู้เล่นถูกปิดตาด้วยผ้า ผู้ดาเนินเกมจับผู้เล่นมานั่งด้วยกันเป็นคู่ๆ ห่างๆ กัน มีดินเหนียวให้คู่ละก้อน เปิดเพลงคลอดเบาๆ ให้ผู้เล่นปั้นอะไรก็ได้ร่วมกัน หลังจากนั้นผู้เล่นจะได้ดูว่าได้ปั้นออกมาเป็นอย่างไร คุยกัน

24 สะพานชีวิต จุดประสงค์ ร่วมมือกันเห็นทางเลือกในการร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน อุปกรณ์ เก้าอีเ้ ท่าจานวนผูเ้ ล่น เวลา 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด การเตรียมการ จัดเก้าอี้พนักชนกันเป็นแถวๆ วิธีเล่น ผู้เล่นยืนบนเก้าอี้เต้นไปรอบ ๆ หากตกลงมาถือว่าออกจากเกม เพลงหยุดให้ทุกคนหยุดเล่นอยู่กับที่ ผู้ดาเนินเกมทยอยเอาเก้าอี้ออกทีละตัว ทีละตัว ผู้เล่นต้องพยายามติดต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่ให้ใครตกลงไป ผู้ดาเนินเกมทยอยเอาเก้าอี้ออกทีละตัว ทีละตัว ผู้เล่นต้องพยายามติดต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่ให้ใครตกลงไป ห้ามแม้แต่เท้าลงพื้น ต่อตัว จุดประสงค์ เพือ่ ทางานร่วมกันใช้ความคิดสร้างสรรค์ อุปกรณ์ ไม่มี เวลา 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น แบ่ง ผู้เล่นเป็นกลุ่มย่อยหรือเล่นพร้อมกันทุกคนก็ได้ ผู้เล่นต้องต่อตัวตามคาสั่ง เช่น มีขาสามขา ผู้เล่นก็ต้องทาอย่างไรก็ได้ให้มีขายืนบนพื้นเพียงสามขาจากจานวนผู้เล่นใน กลุ่มทั้งหมด หูต่อหู ผู้เล่น จะต้องใช้หูของตนเองกับหูของเพื่อนติดกันให้หมดทุกคน ศอกต่อศอก ผู้เล่นต้องจัดรูปแบบยืนให้ศอก และหัวของทั้งกลุ่มชนกัน รูปหัวใจ ผู้เล่นต้องใช้ร่างกายเรียงกันให้เป็นรูปหัวใจหรือจะนอนบนพื้นให้โค้งเป็น รูปหัวใจก็ได้ เรืออารมณ์ จุดประสงค์ เพือ่ ให้รจู้ กั คุณค่าของลักษณะนิสยั ที่แตกต่างกัน อุปกรณ์ ไม่มี เวลา 1 ชั่วโมง จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น แบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละห้าคน แต่ละกลุ่มเป็นเรือที่กาลังจะจม เนื่องจากผู้โดยสารเยอะเกินไป ให้เรือแต่ละลาตกลงกันเองว่าต้องโยนใครออกจากเรือ เพื่อไม่ให้จมในเวลาที่จากัด แต่ละคนต้องแสดง จุดยืนของตนเอง แสดงเหตุผลว่าทาไมตนเองจึงสมควรได้อยู่บนเรือต่อไป ความรู้สึกของตนสาคัญแค่ไหน ข้อควรจา ไม่มีคาตอบไหนถูกหรือผิด ทุกความรู้สึกมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน ข้อแนะนา ทาความเข้าใจความรู้สึกของแต่ละคนอย่างคร่าวๆ ก่อนเล่น ระหว่างเล่นผู้ดาเนินเกม อาจต้องคอยช่วยดูว่าผู้เล่นเข้าใจกันแค่ไหน อาจมีการสรุปความเข้าใจของแต่ละอารมณ์อีกครั้งหนึ่ง

25 การเรียนรู้อย่างอื่นนอกความเห็นจากนี้ผ่านเกม ผู้ดาเนินเกมอาจชวนผู้เล่นมาวิเคราะห์ถึงวิธีการตกลง ในแต่ละกลุ่มว่ามีปัญหาใน การตกลงกันไหม ใช้อะไรตัดสิน โหวตเสียง ตกลงกันเลย เอาเหตุผลเข้าค้าน กัน มีการทะเลาะกันไหม มีใครเป็นผู้นากลุ่มหรือเปล่า ความสามารถในการพูดเกี่ยวข้องกับการแพ้ชนะ หรือไม่ ประมูล จุดประสงค์ กระตุ้นจิตสานึกเกี่ยวกับคุณค่า อุปกรณ์ กระดาษ ปากกา เวลา 1 - 2 ชั่วโมง จานวนผู้เล่น ไม่จากัด การเตรียมการ เขียนสิ่งที่จะให้ประมูลลงในกระดาษพร้อมราคาสินค้า วิธีเล่น แบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 4 - 5 คน ผู้ดาเนินเกมอธิบายสถานการณ์ โลกกาลังจะแตก เรากาลังจะ ไปอยู่ดาวดวงใหม่แต่ละกลุ่มจะได้รับเงินจานวนหนึ่ง สามารถซื้ออะไรก็ได้ติดตัวไปเริ่มต้นชีวิตใหม่ บนดาว ดวงนั้นเงินไม่มีความหมาย ผู้ดาเนินเกมแจกเงินแต่ละกลุ่มแต่ละกลุ่มมีเวลาสิบนาที ที่จะตกลงว่าจะซื้อ อะไร จะใช้เงินแบบไหน ผู้ดาเนินเกมเริ่มโชว์สิ่งของที่จะประมูลทีละอย่างโดยเริ่มจากของที่มี มูลค่าน้อยๆ เช่น ลูกอม น้าผลไม้ ตามด้วยของใหญ่ ๆ เช่น รถ บ้าน โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ ตามด้วยของที่มี ความหมายทางจิตใจ เช่น ความรัก ความจริงใจ พ่อ แม่ เพื่อน ตามด้วยครอบครัว เป็นต้น ระหว่างเล่น ต้องมีคนคอยเก็บเงิน คอยคุมเกม เมื่อสิ่งของถูกประมูลไปหมดแล้ว ผู้นาเกมแจกแจงการใช้เงินของแต่ละ กลุ่ม ตามด้วยการถกเถียง คาถามนา - แต่ละกลุ่มทางานกันแบบใด - ใครมีหน้าที่อย่างไรในกลุ่ม - แต่ละคนได้ในสิ่งที่ต้องการหรือไม่ - ราคาสิ่งของตรงกับที่คิดไหม - อะไรราคาถูก อะไรราคาแพง

26 ตัวอย่างกิจกรรมทางานเป็นทีม ด้วยรักและห่วงใย จุดประสงค์ ให้ผู้เล่นได้ เรียนรู้การวางแผน การจัดสรรกาลังคน การช่วยเหลือ การเอื้ออาทร และความ ร่วมมือร่วมใจเพื่อความสาเร็จตามเปูาหมายของทีมงาน ที่สาคัญคือการไว้วางใจระหว่างกัน เพราะงาน บางงานคุณไม่สามารถทาโดยลาพังได้ แต่ต้องอาศัย พึ่งพากันและกัน อุปกรณ์ ห่วง เสาหลัก เวลา 15 - 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น 1. ผู้นาแจกห่วง คนละ 2 ห่วง 2. ให้ผู้เล่นนาห่วงคล้องลงในเสาหลัก ทั้ง 2 ห่วง โดยห้ามทาเสาหลักล้ม ห่วงห้ามตก และผู้เล่นห้าม แตะพื้น โดยขาจะต้องอยู่ที่เส้นที่กาหนดให้ ห้ามเลยจากจุดกาหนด ปฏิบัติจนครบทุกคนแล้ว 3. ให้ผู้เล่นนาห่วง ออกจากเสาหลัก โดยปฏิบัติเหมือนกับตอนเอาห่วงเข้า จนครบทุกคน โดยจับเวลาว่า ทีมไหนทาเวลาได้น้อยที่สุดชนะ - แต่ละคนได้ในสิ่งที่ต้องการหรือไม่ - ราคาสิ่งของตรงกับที่คิดไหม - อะไรราคาถูก อะไรราคาแพง

27 เติมใจให้เต็ม จุดประสงค์ ให้ผู้เล่นได้ เรียนรู้ถึงความสามัคคี การเสียสละเพื่อให้ทีมงานประสบความสาเร็จ ด้วย ความคิดสร้างสรรค์ในแก้ปัญหา ยกระดับสู่การประหยัด พลังงาน และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การลดต้นทุน ค่าใช้จ่าย เป็นเกณฑ์ในการตัดสินการแพ้ชนะ อุปกรณ์ ท่อพีวีซี เจาะรู ขันน้าเจาะรู ลูกปิงปอง น้า เวลา 15 - 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น 1. ให้สมาชิกช่วยกันตักน้า ที่เตรียมไว้ให้ โดยใช้ขัน นามาใส่ในท่อพีวีซี ที่เจาะรูให้เต็ม จนกว่าลูกปิงปอง จะลอยขึ้นมาแล้วหยิบลูกปิงปองออกมา 2. นาน้าในท่อ ออกมาใส่กระป๋อง เพื่อวัดปริมาณน้าที่ได้ ทีมใดได้ปริมาณน้ามาก เป็นผู้ชนะ

ลาเลียงรัก จุดประสงค์ ให้ผู้เล่นได้ เรียนรู้ถึงเพื่อฝึกสมาธิให้แน่วแน่ ฝึกในการประสานงาน การสื่อสาร และการสร้าง ระบบ ฝึกสมาธิ พลังใจ และความพยายาม และสร้างความร่วมมือร่วมใจกัน เพื่อเน้นการปรับตัวเข้าหาผู้อื่น ตลอดจนถึงการยอมรับการตัดสินใจของผู้อื่น อุปกรณ์ ท่อพีวีซี ลูกตะกร้อ เวลา 15 - 20 นาที จานวนผู้เล่น ไม่จากัด วิธีเล่น 1. ผู้นาแจก ท่อพีวีซี 2. ให้ผู้เล่นยืนสองแถว สลับฟันปลา และให้ช่วยกันนาลูกตะกร้อ ไปให้ถึงจุดมุ่งหมาย โดยไม่ให้ ตกพื้นถ้าตกจะต้องเริ่มต้นใหม่

28

3. ทีมใดถึงจุดหมายก่อน สามารถทาเวลาได้น้อยที่สุดชน กิจกรรมวอล์คแรลลี่ WALK RALLY กิจกรรม วอล์คแรลลี่ Walk Rally คือ กิจกรรมเพื่อพัฒนาบุคคลากรและองค์กร ให้เหมาะสมกับ สภาพเศรษฐกิจและสังคม ในสภาวะการแข่งขันอย่างสูงในเชิงธุรกิจ ในยุคปัจจุบัน โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมอาศัย ทักษะ และ ศักยภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน และมีความคิดสร้างสรรค์ในการ ทางาน หรือการสร้างผลงาน ให้เป็นที่ต้องการของตลาดหรือกลุ่มลูกค้าเปูาหมายให้ดียิ่งๆขึ้น ซึ่งจะสร้าง ประโยชน์ต่อองค์กรทาให้พนักงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ลักษณะของวอล์คแรลลี่ WALK RALLY ลักษณะของกิจกรรม วอล์คแรลี่ Walk Rally แบ่งกว้างๆได้ 2 ลักษณะ คือ แบบวิชาการ และ แบบนันทนาการ ในลักษณะแบบ นันทนาการจะผสมผสานความ สนุกสนาน ตื่นเต้น ท้าทาย ความสามัคคี และ มนุษย์สัมพันธ์ กิจกรรมทดสอบทักษะ และสมรรถภาพทางร่างกายเข้าไว้ด้วยกัน ส่วนในแบบวิชาการ นั้น สามารถจัดกิจกรรมวอล์คแรลลี่ Walk Rally และ WorkShop "การสร้างภาวะผู้นา" องค์กร ได้อะไร จากกิจกรรมวอล์คแรลลี่ WALK RALLY 1. เพิ่มทักษะในการทางานให้มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายฟุุมเฟือย 2. สร้างทรัพยากรบุคคลที่ดีให้กับองค์กร เพื่อการสร้างงานที่มีคุณภาพ 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานเป็นทีม 4. สร้างความรัก สามัคคี ของพนักงานให้แน่นแฟนยิ่งขึ้น 5. สร้างความรัก และซื่อสัตย์ ต่อองค์กร หน่วยงาน บริษัท ของท่านให้ดียิ่งขึ้น 6. ลดการสร้างทีมงานใหม่ ในกรณีมีพนักงาน Turnover เข้า – ออก บ่อยเกินไป 7. เพื่อการเคารพ กฎ กติกา สิทธิ หน้าที่ ของแต่ละบุคคลหรือหน่วยงาน ในองค์กรของท่าน 8. เพิ่มประสิทธิภาพในการ บริหารเวลา การตรงต่อเวลา

29 พนักงาน ได้อะไร จากกิจกรรมวอล์คแรลลี่ WALK RALLY 1. เสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีต่อกันของพนักงาน ทีมงาน 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการ แสดงความคิดเห็น ความคิดสร้างสรรค์ ต่อทีมงานและเพื่อนร่วมงาน 3. เพิ่มทักษะในการรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น ยอมรับเหตุผลของกันและกัน 4. ปลุกจิตสานึกในการช่วยเหลือเกื้อกูล ประนีประนอม และการให้กาลังใจซึ่งกันและกัน 5. เรียนรู้และเพิ่มทักษะ ขั้นตอน ทัศนคติ และปรัชญาการทางานเป็นทีม 6. พัฒนาการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า กล้าตัดสินใจ โดยใช้ไหวพริบปฏิภาณ

บรรยากาศภายในห้องประชุม ช่วง ละลายพฤติกรรม เตรียมทีมกิจกรรมวอล์คแรลลี่

30 บรรยากาศ Out Door ลงฐานกิจกรรมวอล์คแรลลี่

31 เอกสารอ้างอิง เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย ( 2551 : 60 – 61) เอกสารคาสอนรายวิชา 0906303 การเป็นผู้นา นันทนาการ. กลุ่มวิชานันทนาการศาสตร์และการจัดการกีฬา สานักวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (อัดสาเนา) พีระพงษ์ บุญศิริ. (2542) นันทนาการและการจัดการ. กรุงเทพ: โอเอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จรินทร์ ธานีรัตน์. (2524) เกม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. นภพร ทัศนัยนา. (2538) กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : โครงการการศึกษาต่อเนื่องหาวิทยาลัย มหิดล. สกุล โสรัจน์. เกม. มหาสารคาม: วิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดมหาสารคาม พลศึกษา, กรม สานักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนันทนาการ. (2544) เอกสารประกอบการ เรียนการสอน เรื่อง นันทนาการเบื้องต้น. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ พลศึกษา , กรม (2553) คู่มือผู้นานันทนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด. ---------------------

การเลือกกิจกรรมนันทนาการมีหลักเกณฑ์ในการเลือกอย่างไร

๑) ลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ เพศและวัย เช่น การเย็บปักถักร้อยเหมาะกับผู้หญิง กีฬาชกมวยเหมาะกับผู้ชาย หมากเก็บเหมาะกับเด็ก ๆ เป็นต้น ๒) ความรู้ความสามารถของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพราะจะทำให้เกิดความสนุกสนานขณะปฎิบัติ เช่น ถ้ามีความสามารถในการพูด อาจเลือกเล่านิทานหรือโต้วาทีร่วมกับเพื่อน เป็นต้น

หลักเกณฑ์ที่สำคัญในการจัดกิจกรรมนันทนาการต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง

หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ 1. มีวัตถุประสงค์ชัดเจนเน้นองค์รวมกล่าวคือมีผลดี ต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม 2. ไม่บังคับขู่เข็ญ ให้เลือกตามอัธยาศัย 3. ปรับเปลี่ยนไปตามความเหมาะสม 4. หลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ มีความปลอดภัยในชีวิต Page 2 5. กิจกรรมนั้นเน้นเพลิดเพลิน สร้างสรรค์ ป้องกัน ฟื้นฟูสุขภาพร่างกายและจิตใจ

การเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการมีหลักในการพิจารณาอย่างไร

การเลือกเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียนให้เกิดผลดีมีหลักการดังนี้ ความรู้ และความสามารถความถนัดตนเอง ควนเลือกเข้ากิจกรรมที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและความถนัดของตนเอง เพราะทำให้สามารถประกอบกิจกรรมนั้นได้เต็มที่ เกิดความพึงพอใจและไม่เบื่อหน่าย

การจัดกิจกรรมนันทนาการ มีอะไรบ้าง

ตัวอย่างกิจกรรมนันทนาการ.
การเต้นรำ.
การรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม.
การล่าสัตว์และการตกปลา.
การท่องเที่ยว.
เล่นอินเทอร์เน็ต.
อ่านหนังสือ.
เขียนนิยายหรือเรื่องสั้น (ในกรณีที่เขียนโดยไม่ได้ตั้งใจจะนำไปจัดพิมพ์).
การเล่นกีฬาและออกกำลังกาย.