องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

          บทความนี้น่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งกับกลุ่มคนที่สนใจจะดูแลและอยากทำความเข้าใจในเรื่องของสุขภาพรวมถึงกิจกรรมทางกายการใช้ชีวิตประจำวันหรือการคิดโปรแกรมการออกกำลังกายนั้นล้วนแต่ต้องมีความรู้และความเข้าใจพื้นฐานของสมรรถภาพทางกายก่อนว่าสมรรถภาพทางกายหรือทางกลไกนั้นประกอบไปดด้วยอะไรบ่างแล้วนำความรู้เหล่านี้ที่ได้ไปปรับใช้กับการออกแบบตารางการฝึกหรือการพัฒนากิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันได้ จริงๆแล้วคำว่าสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางกลไกนั้นความหมายค่อนข้างจะละเอียดและเข้าใจยากแต่ผมจะพยายามอธิบายความหมายเบื่องต้นแบบสั้นให้เข้าใจง่ายๆเพื่อนำไปต่อยอดกับความรู้อื่นๆดังนี้

สมรรถภาพทางกายหมายถึง

          สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) คือความสามารถของระบบต่างๆของร่างกายในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายที่ดีนั้นจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างกระฉับกระเฉงโดยไม่เหนื่อยล้าจนเกินไปและยังมีพลังงานสำรองมากพอสำหรับกิจกรรมนันทนาการหรือกรณีฉุกเฉินต่างๆ

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

  1. องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) ในร่างกายของมนุษย์จะประกอบไปด้วยกล้ามเนื้อ กระดูก ไขมันและอื่นๆอีกมากมาย
  2. ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต (Cardio Respiratory Endurance) สมรรถนะของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจในการลำเลียงออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเนื้อทำให้ร่างกายสามารถยืนหยัดที่จะทำงานหรือออกกำลังกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็นระยะยาวนานได้
  3. ความอ่อนตัว (Flexibility) คือการเคลื่อนไหวสูงสุดเท่าที่ทำได้ของกล้ามเนื้อ ข้อกลุ่มหรือกลุ่มข้อต่อ
  4. ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) ความสามารถของกล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อในการหดตัวซ้ำๆ หรือความสามารถในการคงสภาพการหดตัวครั้งเดียวได้เป็นระยะเวลาที่ยาวนาน
  5. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength) คือปริมาณสูงสุดของแรงที่กล้ามเนื้อสามารถออกแรงต้านได้ในช่วงการหดตัว 1 ครั้ง

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

  1. ความคล่องตัว (Agility) ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็วและสามารถควบคุมได้
  2. การทรงตัว (Balance) ความสามารถในการรักษาสมดุลของร่างกายเอาไว้ได้ทั้งในขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่
  3. การประสานงานระหว่างระบบประสาทและกล้ามเนื้อ (Co-ordination) ความสามารถในการเคลื่อนไหวได้อย่างราบรื่น กลมกลืนและมีประสิทธิภาพซึ่งเป็นการทำงานประสานสอดคล้องกันระหว่าง ตา – มือ – เท้าและอื่นๆ
  4. พลังกล้ามเนื้อ (Power) ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนของร่างกายในการหดตัวเพื่อทำงานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ได้เป็นผลรวมของ ความแข็งแรง(Strength) และความเร็ว(Speed) ในช่วงระยะเวลาสั้น
  5. ปฏิกกิริยาตอบสนอง (Reaction Time) ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ
  6. ความเร็ว (Speed) ความสามารถในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

          จากหัวข้อข้างต้นที่ได้กล่าวมานั้นเป็นเพียงความรู้พื้นฐานและข้อมูลเบื่องต้นที่จะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้นทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความเข้าใจและการฝึกฝนอย่างถูกวิธีตามหลักการคิดโปรแกรมการฝึกในรูปแบบต่างๆ และความรู้เกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายนั้นสามารถต่อยอดไปได้หลายอย่างขึ้นอยู่การนำไปปรับใช้ แต่จงอย่าลืมว่าเราใช้ร่างกายทุกวันทั้งวันไม่เว้นแม้แต่การนอนดังนั้นผมอยากให้ทุกคนที่ได้อ่านบทความนี้นำความรู้ไปต่อยอดในสิ่งที่จะทำให้สุขภาพและคุณภาพชีวิตของทุกคนดีขึ้น

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

 

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

ความสามารถของร่างกายที่ช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬาได้ดี มีองค์ประกอบ 6 ด้าน ดังนี้

  1. ความคล่อง ( Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็วและสามารถควบคุมได้
  2. การทรงตัว ( Balance)  หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของร่างกายเอาไว้ได้ทั้งในขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่
  3. การประสานสัมพันธ์ ( Co-ordination) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวได้อย่างราบรื่น กลมกลืน และ มีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นการทำงานประสารสอดคล้องระหว่างตา-มือ-เท้า
  4. พลังกล้ามเนื้อ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อส่วนหนึ่งส่วนใดหรือหลายๆ ส่วนของร่างกายในการหดตัวเพื่อทำงานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ได้เป็นผลรวมของความแข็งแรงและความเร็วที่ใช้ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เช่น การยืนอยู่กับที่  กระโดดไกล  การทุ่มน้ำหนัก  เป็นต้น
  5. เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง ( Reaction  time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ เช่น แสง  เสียง สัมผัส
  6. ความเร็ว (Speed) หมายถึง  ความสามารถในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

  1. ปริมาณในการฝึก ( Volume)
  2. ความหนักในการฝึก ( Intensity)
  3. ความบ่อยครั้ง/ ความถี่ในการฝึก ( Frequency)
  4. ระยะเวลาในการฝึก ( Duration)
  5. ระยะเวลาในการพักฟื้นสภาพร่างกาย ( Recovery)
  6. รูปแบบในการฝึก ( Pattern of  Exercise)

สิ่งที่ควรคำนึงในการฝึกสมรรถภาพ และทักษะกีฬา

  1. ประวัติของผู้เข้ารับการฝึก เพศ วัย ภูมิหลัง โรคภัยไข้เจ็บ
  2. ความพร้อมทางด้านร่างกาย ความแข็งแรง  อายุ  รูปร่าง สัดส่วนของนักกีฬาที่จะเข้ารับการฝึก มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใดกับชนิดและประเภทกีฬาที่จะทำการฝึก
  3. อวัยวะหลักและรองในการออกกำลังกาย
  4. เข้าใจระบบพลังงานที่ใช้ในการออกกำลังกาย
  5. การจัดรูปแบบและขั้นตอนการฝึก ควรเริ่มจากง่ายไปหายาก จากเบาไปหาหนัก และ จากช้าไปหาเร็ว  ไม่ควรเร่งรัดข้ามขั้นตอนการฝึก
  6. ไม่ควรฝึกทักษะ เมื่อร่างกายนักกีฬามีความเมื่อยล้า  อ่อนเพลีย หรือ หมดแรง สิ่งที่ได้ไม่เป็นผลตีต่อร่างกาย 

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

1.แหล่งพลังงานจาก ATP-PC (พลัง) เป็นการออกกำลังกายหรือประกอบกิจกรรมที่มีระยะเวลาสั้น ๆ (ต่ำกว่า 10 วินาที )สารอาหารที่ใช้เป็นแหล่งพลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรท
2.แหล่งพลังงานจาก กรดแลคติค (ความเร็ว)  เป็นการออกกำลังกายหรือประกอบกิจกรรมที่มีระยะเวลาประมาณ 10 วินาที ถึง 2 นาทีสารอาหารที่ใช้เป็นแหล่งพลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรทและ ไขมันบ้างเล็กน้อย
3.แหล่งพลังงานจากออกซิเจน (ความอดทน)  เป็นการออกกำลังกาย หรือประกอบกิจกรรมที่มีระยะเวลานานกว่า 2 นาที ถึงหลายชั่วโมง สารอาหารที่ใช้เป็นพลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรทและไขมัน

ระดับของอัตราการเต้นชีพจรที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการฝึก  ประกอบด้วย

  • ระดับที่มีการเผาผลาญไขมันในร่างกายความหนัก 50-60 % Max. HR.
  • ระดับที่ช่วยรักษาสุขภาพปอดและหัวใจให้แข็งแรงความหนัก 60-80 % Max. HR
  • ระดับที่ช่วยพัฒนาระบบการทำงานแบบใช้ออกซิเจนความหนัก 70-80 % Max. HR.
  • ระดับที่ช่วยพัฒนาระบบการทำงานแบบไม่ใช้ออกซิเจน ความหนัก 80-90 % Max. HR.
  • ระดับที่ต้องระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดกับร่างกายความหนัก 90-100 % Max. HR.

ขอขอบคุณเว็บไซต์ : http://goo.gl/cJBuH2

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีอะไรบ้าง

สมรรถภาพกลไกลมีองค์ประกอบกี่ด้าน

สมรรถภาพทางกล หรือสมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ ความสามารถของร่างกายที่ช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬาได้ดี มีองค์ประกอบ 6 ด้าน ดังนี้ ความคล่อง ( Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็วและสามารถควบคุมได้

องค์ประกอบสมรรถภาพกลไกมีอะไรบ้าง

3. องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไกองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกลไก มีดังนี้  1. ความคล่องแคล่วว่องไว เป็นความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได้อย่าง รวดเร็ว  2. การทรงตัว เป็นความสามารถในการรักษาสมดุลของร่างกายเอาไว้ได้  3. การประสานสัมพันธ์ เป็นความสามารถในการเคลื่อนไหวได้อย่างราบรื่น และมี ประสิทธิภาพ  4. พลัง ...

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายมีอะไรบ้างบอกมา 5 ข้อ

1. สัดส่วนร่างกาย (Body Composition) 2. ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต และการหายใจ (Cardiorespiratory Endurance) 3. ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) 4. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength) 5. ความอ่อนตัว (Flexibility)

สมรรถภาพทางกลไกหมายถึงข้อใด

สมรรถภาพทางกลไก คือความสามารถในการเคลื่อนไหวของร่างกายอันเนื่องมาจาก การทํางานของประสาทกล้ามเนื้อและความคล่องตัว การทรงตัว การประสานสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ในร่างกาย ความเร็ว พลังกล้ามเนื้อ เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง ในพลศึกษาปกตินั้นอาจให้ ความสําคัญในเรื่องสมรรถภาพทางกลไกไม่มากนัก แต่พลศึกษาสําหรับเด็กพิเศษนั้น สมรรถภาพ ทาง ...