ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

งานนำเสนอเรื่อง: "เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2 ความหมายของตัวกลางในการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คือตัวกลางการสื่อสาร หรือตัวที่เป็นสื่อกลางในการนำสัญญาณการสื่อสารจากแหล่งผู้ส่งไปยังแหล่งผู้รับ

3 1. ตัวกลางประเภทสาย 2. ตัวกลางประเภทไร้สาย ประเภทของตัวกลาง
 ประเภทของตัวกลาง เราสามารถแบ่งตัวกลางการสื่อสารออกได้เป็น  2 ประเภทหลักๆ  ดังนี้  1. ตัวกลางประเภทสาย  2. ตัวกลางประเภทไร้สาย

4  ตัวกลางประเภทสาย  1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair ) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลดผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิ้ลเดียวกันหรือจากภายนอก

5 ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)
ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)  สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอก ทำให้สะดวก ในการเดินสายเพราะโค้งงอได้ดี แต่สามารถป้องกันการรบกวนได้น้อย

6 ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)
ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)  2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair) สายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้น เพื่อ ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น

7 ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)
ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)    ) สายเคเบิลแกนร่วมหรือโคแอกซ์ (Coaxial  Cable) เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลาง หุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วยลวดทองแดงถักเป็นร่างแหล้อมรอบเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนอยู่ด้านนอกและหุ้มชั้นนอกด้วยฉนวนพลาสติก

8 ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)
ตัวกลางประเภทสาย (ต่อ)  3. สายไฟเบอร์ออปติก (Fiber Optic Cable)  หรือสายเคเบิลใยแก้วนำแสงเป็นตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูลในรูปของแสง  หลักการทั่วไปของการสื่อสารในสายไฟเบอร์ออปติก คือการเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลหรือสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสงก่อน  แล้วส่งผ่านสายไฟเบอร์ออปติกไปยังปลายทาง  

9 ตัวกลางประเภทไร้สาย 1. คลื่นวิทยุ (radio wave) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิรตซ์ ถึง 1 กิโลเฮิรตซ์ ใช้งานในการติดต่อ สื่อสารในระบบแลนไร้สาย  เช่น การสื่อสารในระบบวิทยุ เอฟเอ็ม  วิทยุเอเอ็ม การสื่อสารโดยใช้ระบบไร้สาย และบลูทูท

10 ตัวกลางประเภทไร้สาย (ต่อ)
2. คลื่นไมโครเวฟ (microwave) สัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ – ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง 

11 ตัวกลางประเภทไร้สาย (ต่อ)
3. อินฟราเรด (Infrared) เป็นลักษณะของคลื่นที่ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ ในช่วงความถี่ที่แคบมาก ใช้ช่องทางสื่อสารน้อย มักใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างตัวส่งกับตัวรับสัญญาณ โดยต้องใช้วิธีการสื่อสารตามแนวเส้นตรง ระยะทางไม่เกิน 1 – 2 เมตร

12 แบบฝึกหัด เรื่องตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1. การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใช้สายและแบบไร้สาย แตกต่างกันอย่างไร 2.การรับส่งข้อมูลผ่านอินฟราเรด มีลักษณะอย่างไร 3.คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ประมาณเท่าไหร่ 4. เพราะเหตุใด การส่งสัญญาณไมโครเวฟจะต้องตั้งสถานีรับส่งเป็นจำนวนมาก 5. ตัวกลางการสื่อสารแบ่งออกเป็นกี่ประเภท ไรบ้าง 6.จงอธิบายลักษณะของสายคู่บิดเกลียวว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร 7. คุณสมบัติของสายใยเเก้วนำเเสงเป็นอย่างไร

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

ระบบเครือข่ายคือการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 เครื่องขึ้นไป มาเชื่อมต่อกันเพื่อสื่อสารรับส่งข้อมูลกัน โดยผ่านทางสื่อกลาง ซึ่งสื่อกลางส่วนใหญ่ที่เราจะรู้กันก็คือ สายแลน สายไฟเบอร์ เป็นต้น แต่ว่าสื่อกลางใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ไม่ได้มีแค่สายสัญญาณ ในโลกยุคปัจจุบันเราสามารถสื่อสารรับส่งข้อมูลจากทางไกลได้โดยไม่ต้องใช้สายสัญญาณ แต่ผ่านทางสื่อกลางแบบไร้สายแทน ในบทความนี้เราจะพาไปรู้จักกับสื่อกลางประเภทไร้สายกัน

สื่อกลางแบบไร้สายคืออะไร

ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับการสื่อสารแบบไร้สายกันก่อน การสื่อสารแบบไร้สายคือการรับส่งข้อมูลโดยไม่ผ่านสายสัญญาณ แต่ใช้อากาศเป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูล ดังนั้นสื่อกลางแบบไร้สายก็คือ คลื่นสัญญาณในอากาศที่ใช้รับส่งข้อมูลระหว่างกันนั้นเอง ถ้าอธิบายให้เข้าใจกันง่ายๆ ให้นึกถึงโทรทัศน์ที่เราใช้ โทรทัศน์รับคลื่นสัญญาณจากดาวเทียม และประมวลผลกลายเป็นภาพและเสียงรายการโปรดให้เราได้ดูกัน

สื่อกลางแบบไร้สายมีอะไรบ้าง

แม้ว่าการสื่อสารแบบไร้สายอาจฟังดูไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์อะไรมาก แต่ว่าการรับส่งข้อมูลแบบไร้สายนั้นจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ 2 ตัว ที่ต้องใช้ในระบบ นั้นก็คือ อุปกรณ์ส่งสัญญาณ กับ อุปกรณ์รับสัญญาณ ซึ่งอุปกรณ์ส่งสัญญาณค่อยทำหน้าที่แปลงข้อมูลกลายเป็นคลื่นสัญญาณและส่งผ่านคลื่นนั้นไปในอากาศ ส่วนอุปกรณ์รับสัญญาณคืออุปกรณ์ที่รับคลื่นสัญญาณนั้น แล้วแปลงกลับไปเป็นข้อมูล ซึ่งการรับส่งข้อมูลแบบไร้สายนี้มีข้อเสียอยู่นั้นก็คือปัญหาเรื่องระยะทางและโอกาสที่สัญญาณจะถูกรบกวน ทำให้ข้อมูลที่ส่งมาเสียหายหรือผิดเพี้อนได้ ทำให้ต้องมีการแบ่งช่วงความถี่ของสัญญาณในการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ทำให้มีคลื่นสัญญาณความถี่ต่างๆ ที่เราเรียกกันในปํจจุบัน ดังนั้นเราจะมาดูกันว่าคลื่นสัญญาณที่ใช้รับส่งข้อมูลในปัจจุบันนั้นมีคลื่นสัญญาณอะไรบ้าง

1. คลื่นวิทยุ (Radio Wave)

คลื่นวิทยุเป็นคลื่นที่มีการกระจายตัวรอบทิศทางผ่านเสาอากาศส่งคลื่นวิทยุ โดยลักษณะรอบทิศทางแบบนี้ ทำให้มีประโยชน์สำหรับการสื่อสารแบบ Multicasting ซึ่งมีหนึ่งผู้ส่ง แต่หลายผู้รับ เช่น สถานีวิทยุ ระบบมือถือ โทรทัศน์ แต่อย่างไรก็ตาม คลื่นวิทยุมีข้อเสียอยู่หนึ่งอย่างนั้นก็คือ คลื่นมีความอ่อนไหวต่อการรบกวนจากเสาอากาศตัวอื่นที่ส่งสัญญาณความถี่แบบเดียวกัน

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

2. สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave)

ไมโครเวฟเป็นคลื่นที่เดินทางในทิศทางเดียว มีความเร็วสูง ใช้สำหรับการเชื่อมต่อระยะไกลโดยการส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และต้องมีสถานีที่ทำหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวตามความโค้งของผิวโลกได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรักส่งข้อมูลเป็นระยะ และส่งข้อมูลต่อกันระหว่างสถานี จนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดเขา เพื่อหลีกเลี่ยงการชนสิ่งกีดขวางในแนวการเดินทางของสัญญาณ

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

3. อินฟราเรด (Infrared)

อินฟราเรคเป็นสื่อสารที่ใช้คลื่นแสงที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า สามารถส่งข้อมูลด้วยคลื่นอินฟราเรดต้องส่งในแนวเส้นตรง และไม่สามารถทะลุสิ่งกีดขวางที่มีความหนาได้ นิยมใช้ในการส่งถ่ายโอนข้อมูลสำหรับอุปกรณ์แบบพกพา ตัวอย่างเช่น รีโมทโทรทัศน์ที่เราใช้งานกันอยู่ทั่วไป

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

4. ดาวเทียม (Satellite)

ดาวเทียมเป็นการสื่อสารโดยคลื่นสัญญาณแบบเดียวกันกับไมโครเวฟในการรับส่งข้อมูล แต่ว่าคลื่นไมโครเวฟมีข้อเสียที่คลื่นเดินทางในแนวตรง ทำให้พื้นที่ที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหรือตึกสูงมีผลต่อการบดบังคลื่น จึงมีการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟที่อยู่เหนือพื้นผิวโลก ทำหน้าที่เป็นสถานีส่งและรับข้อมูล ทำให้การสื่อสารมีลักษณะแบบการส่งข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม และจากดาวเทียมมาสู่ภาคพื้นดิน

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

5. บลูทูธ (Bluetooth)

บลูทูธเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์แบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น และไม่จำเป็นจะต้องใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด ซึ่งถือว่าเพิ่มความสะดวกมากกว่า โดยหลักของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากใช้การขนส่งข้อมูลในจำนวนที่ไม่มาก อย่างเช่น ไฟล์ภาพ, เสียง, แอพพลิเคชั่นต่างๆ และสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย ขอให้อยู่ในระยะที่กำหนดไว้เท่านั้น

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไร

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยทา หน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ให้ข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ ตัวกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีหลายประเภท แต่ละ ประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่ผ่านไปได้ในช่วงเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือ ความจุในการนา ...

ข้อใดคือชนิดตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย

ตัวกลางนำสัญญาณไร้สาย การสื่อสารไร้สายอาศัยการส่งสัญญาณไปกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางนำสัญญาณ โดยมีวิธีการส่งสัญญาณหลายวิธี และยังสามารถใช้งานช่วงคลื่อนที่ความถี่แตกต่างกันได้ด้วย 1. คลื่นวิทยุ คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิรตซ์ ถึง 1 กิกะเฮิรตซ์ ใช้ในการสื่อสารในระบบแลนไร้สาย

ตัวกลางในการสื่อสารแบบมีสายมีอะไรบ้าง

ตัวกลางการสื่อสารแบบมีสาย 1. สายตีเกลียวคู่(Twisted- pair Wire) 2. สายโคแอกซ์(Coaxial Cable) 3. เส้นใยนาแสง (Fiber Optic Cable) สายตีเกลียวคู่ สายโทรศัพ์แบบดั้งเดิม สายทองแดง 8 เส้น พันกันเป็นคู่ๆ จานวน 4 คู่

ตัวกลางในการสื่อสารมีความสำคัญอย่างไร

1. ป้องกันการรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้าได้มาก 2. ส่งข้อมูลได้ระยะไกลโดยไม่ต้องมีตัวขยายสัญญาณ 3. การดักสัญญาณทำได้ยาก ข้อมูลจึงมีความปลอดภัยมากกว่าสายส่งแบบอื่น 4. ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงและสามารถส่งได้มาก ขนาดของสายเล็กและน้ำหนักเบา