ลักษณะความสัมพันธ์ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านมีลักษณะอย่างไร

คะแนนเต็ม 30 คะแนน ข้อสอบมี 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน

1.คุณสมบัติพื้นฐานสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์คือข้อใด *

มีความรู้ทางประวัติศาสตร์.

มีจิตนาการต่อเรื่องราวต่างๆ

2.การวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักฐานชิ้นหนึ่งกับหลักฐานชิ้นอื่น มีจุดประสงค์เพื่ออะไร *

เพื่อพิจารณาความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

เพื่อพิจารณาว่าเป็นหลักฐานปลอมหรือไม่

เพื่อพิจารณาว่าหลักฐานใดคือหลักฐานชั้นต้น

เพื่อจัดหมวดหมู่หลักฐานที่สอดคล้องกันเข้าไว้ด้วยกัน

3.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการวิเคราะห์เรื่องราว หรือเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ *

ทำให้ได้รับการยกย่องจากคนในสังคม

ทำให้มีความคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล

ทำให้สามารถแยกแยะเรื่องราวต่างๆ ได้ดี

ทำให้มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล

4.จากคำกล่าวที่ว่า "รูปแบบการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น จำลองมาจากสมัยอยุธยาตอนปลาย" นักเรียนสามารถทราบได้จากอะไร *

การดำเนินชีวิตของราษฎรทั่วไป

5.รายได้หลักของราชการไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มาจากอะไร *

6.สินค้าในข้อใดจัดเป็นสินค้าต้องห้ามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งห้ามนำเข้ามาจำหน่ายในราชอาณาจักร *

7.ชนชั้นใดที่เป็นเจ้าชีวิตและได้รับการยกย่องจากราษฎร ว่ามีลักษณะเป็นสมมุติเทพ และธรรมราชา *

8.ระบบศักดินาส่งผลต่อสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในข้อใดมากที่สุด *

เกิดระบบชนชั้นในสังคมมากที่สุด

เกิดการแบ่งอำนาจการปกครองที่ชัดเจน

เกิดการกระจายการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ทำให้คนในสังคมมีฐานะและอภิสิทธิ์ที่เท่าเทียมกัน

9.ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเตรียมรับศึกพม่าในสงครามเก้าทัพ แตกต่างจากสงครามครั้งก่อนๆ อย่างไร *

ยกทัพใหญ่ไปตั้งรับข้าศึกถึงชายแดน

10.ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ถูกต้อง *

ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการทำสงคราม

จะเป็นการค้าขายแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมักมีชาวตะวันตกเข้ามาแทรกแซง

ไทยต้องเข้าไปช่วยไกล่เกลี่ยเพื่อยุติสงครามภายในเป็นบางครั้ง

11.การจัดตั้งสภาที่ปรึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ใด *

12.ถ้านักเรียนต้องรับผิดชอบในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้กับชาติตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 5 ควรต้องทำตามข้อใด *

ตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก

13.หัวใจสำคัญของการปฎิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร *

การตั้งหน่วยงานให้เหมาะสมกับบ้านเมือง

14.สนธิสัญญาบราว์ริงมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทยข้อใดมากที่สุด *

15.ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการปฎิรูปการศึกษาของไทย สมัยรัชกาลที่ 5 *

เพื่อเอาใจชาติตะวันตกที่พัฒนาแล้ว

รองรับแรงงานที่กำลังขยายตัว

ให้ไทยมีความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ

สร้างบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเพื่อรับราชการ

16.การวางระเบียบปฎิบัติให้กับพระสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ของสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ เมื่อครั้งทรงผนวช ก่อให้เกิดผลสำคัญอย่างไร *

ทำให้คนไทยนิยมบวชเป็นพระสงฆ์มากขึ้น

เกิดความแตกแยกระหว่างพระสงฆ์สองนิกาย

พระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทในการปกครองอาณาจักร

เกิดการปรับปรุงข้อวัตรปฎิบัติให้รัดกุมยิ่งขึ้นในหมู่พระสงฆ์มหานิกาย

17.ข้อใดเป็นผลจากการตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร ร.ศ.124 *

ยกเลิกระบบไพร่โดยสิ้นเชิง

ทำให้รู้กำลังพลได้อย่างถูกต้อง

การเข้ารับราชการเป็นระบบมากขึ้น

ป้องกันผู้ที่หลบเลี่ยงการเป็นทหารได้

18.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของสนธิสัญญาบราว์ริง *

ให้มีการเปิดเสรีทางการค้า

ไทยเก็บภาษาีสินค้าขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3

พ่อค้าและผู้ซื้อสามารถขายสินค้าทุกชนิดได้ทั่วประเทศ

ชาวอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษต้องขึ้นศาลกงศุลอังกฤษ

19.การที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร *

ได้ดินแดนที่เคยเสียไปกลับคืน

ได้แก้ไขสนธิสัญญาที่เสียเปรียบ

สามารถขยายตลาดการค้าได้กว้างขวาง

ได้เงินกู้จากต่างประเทศเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ

20.ดร.ฟรานซิส บี แซร์ เป็นผู้แทนไทยในการเจรจากับต่างประเทศในเรื่องใด *

ต่อรองลดราคาค่าปฎิกรรมสงคราม

แก่ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค

ขอปรับปรุงเส้นเขตแดนกับฝรั่งเศษ

21.สาเหตุสำคัญที่ทำให้คณะราษฎ์ ยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คือข้อใด *

ความกลัวจะเสียอำนาจของขุนนาง

22.การจัดตั้งขบวนการเสรีไทยของคนไทยผู้รักชาติ ส่งผลดีต่อชาวไทย ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงอย่างไร *

23เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงต้องมีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ *

เป็นแนวทางการบริหารงานของรัฐบาล

เป็นแนวทางสำหรับการลงทุนในอนาคต

เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ

เป็นแนวทางในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรให่เกิดประโยชน์สูงสุด

24.ข้อใดเป็นพื้นฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย *

พระมหากษัตริย์ ประชาธิปไตย

25.จากพระราชนิพนธ์ เรื่องพระมหาชนก คนไทยสามารถนำเรื่องใดไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน *

26.ทุกข้อกล่าวถึงที่ตั้งของทวีปยุโรบได้ถูกต้อง ยกเว้นข้อใด *

27.ความพยายามที่จะล้มเลิกระบบเก่าก่อนการปฎิวัติฝรั่งเศษ กระทำขึ้นเพื่อเหตุผลในข้อใด *

เพื่อจัดกฎหมายให้เป็นระบบ

เพื่อความเสมอภาคทางสังคมและการเมือง

เพื่อลดอำนาจความขัดแย้งของสภาฐานันดร

28.การสำรวจทางทะเลและการแสงหาอาณานิคม ส่งผลดีต่อการปฎิวัติอุตสาหกรรมในลักษณะใด *

มีแหล่งวัตถุดิบและตลาดสินค้ามาก

มีการคมนาคมติดต่อถึงกันทั่วโลก

มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างทวีปยุโรบกับทวีปเอเชีย

29.สงครามกลางเมืองอเมริกัน คศ.1861-1865 มีสาเหตุสำคัญมาจากอะไร *

การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ

ความไม่พอใจเรื่องสีผิวและเชื้อชาติ

30."มูลาตโต" เป็นคำที่ใช้เรียกพวกที่มีเชื้อชาติผสมระหว่างข้อใด *

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะอย่างไร

4. ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. เป็นมิตรไมตรีกันเพื่อประโยชน์ทางด้านการค้า 2. เป็นประเทศคู่สงครามกัน 3. การดาเนินนโยบายต่อประเทศราช

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะแบบใด

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น อยู่ในลักษณะทำสงครามสู้รบกัน โดยไทยทำสงครามกับพม่ารวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง สงครามครั้งที่มีความสำคัญที่สุดคือ สงครามเก้าทัพ ใน พ.ศ. 2328 แต่เมื่อพม่าเผชิญหน้ากับการคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก คือ ประเทศอังกฤษ ในเวลาต่อมาก็ไม่ได้ยกทัพมาสู้รบกับไทยอีก

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญวนมีลักษณะอย่างไร

1.6) ความสัมพันธ์กับญวน ส่วนใหญ่จะเป็นการทำสงครามต่อกันเพื่อแย่งชิงเขมร โดยที่ไม่มีฝ่ายใดชนะเด็ดขาด ภายหลังเมื่อญวนเกิดข้อพิพาทกับฝรั่งเศส จึงได้เปิดเจรจากับไทย ทำให้ยุติสงครามระหว่างกันได้ และหลังจากญวนได้ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสแล้วความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญวนก็ได้ยุติลงอย่างเป็นทางการ

ลักษณะสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นอย่างไร

- การปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขสูงสุด - การปกครองส่วนกลาง มีลักษณะดังนี้ คือ มีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่ง และมีจตุสดมภ์ทั้ง 4 ฝ่าย ภายใต้การดูแลของสมุหนายก - การปกครองส่วนภูมิภาค ได้มีการแบ่งหัวเมืองเป็น 3 ประเภท คือหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก หัวเมืองประเทศราช

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะอย่างไร ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีลักษณะแบบใด ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญวนมีลักษณะอย่างไร ลักษณะสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นอย่างไร ใบงาน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับชาติตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องใด ความสัมพันธ์ของไทยกับชาติตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส่วนใหญ่จะเน้นเรื่องใด สัญญาการค้าฉบับแรกที่ไทยทำกับชาติตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้แก่สัญญาฉบับใด