ข้อใดคือลักษณะของสื่อโฆษณา

1. ข้อใดในต่อไปนี้คือลักษณะ ของ สปอนเซอร์ซิพ (Sponsorship) ?

ก. มีการกำหนดเวลาโฆษณาสินค้า

ข. มีการกำหนดช่วงให้รายการขายสินค้าในรายการ

ค. เป็นโฆษณาที่ได้รับค่าตอบแทนหรือประโยชน์อื่นๆหากสินค้าปรากฏในรายการ

ง. การแจ้งการสนับสนุนรายการ หรือปรากฏชื่อสินค้าต้น/ท้ายรายการ

2. Product Tie-in คืออะไร ?

ก. เป็นการโฆษณาที่ไม่มีบรรยายสรรพคุณ

ข. การให้ตัวละครในเนื้อเรื่อง ใช้ผลิตภัณฑ์

ค. โฆษณาบริการหรือสินค้าเกินกว่าชั่วโมงละสิบสองนาทีครึ่ง

ง. ไม่มีข้อใดกล่าวถูก

3. ข้อใดคือ Product Placement ?

ก. การวางผลิตภัณฑ์เช่น แก้วกาแฟในราบการข่าว เครื่องสำอางในรายการทอล์คโชว์

ข. การมอบสิ่งของที่ระลึก หรือ จับฉลากรางวัล

ค. สัมภาษณ์ดารานักแสดง ผู้ใช้สินค้าช่วงรายการ

ง. ถูกทุกข้อ

4. โฆษณาแบบใด ที่ผู้บริโภคสามารถหลีกเลี่ยงการรับชมได้มากที่สุด ?

ก. Advertising

ข. Tie-in

ค. Product Placement

ง. Sponsorship

5. หลักวิธีคิดใดที่คุณคิดว่าดีที่สุดถ้าหากพบเจอโฆษณา (Advertising, Sponsorship, Product (tie-in)และ Product Placement) ?

ก. รับชมเรื่อยๆ ไม่คิดอะไร

ข. เห็นดาราใช้และสวย ควรบอกต่อเพื่อนสนิท

ค. รับข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักแยกแยะ และไม่สนับสนุนการโฆษณาเกินจริง หลอกลวง

ง. ถูกทุกข้อ

����ͧ��� 7.1.4 ���ͷ����㹡���ɳ�

�����ɳ� (Advertising Media) ����觷��Ӣ�����÷ҧ��õ�Ҵ�ҡ����������������������������
���ҧ�ջ���Է���Ҿ ���ͷ���繷����� ����

  1. �����÷�ȹ� (TV Advertising) �����ͷ���շ���Ҿ ���§ �������͹��� ����ö�����ҧ��ä�����١���
    �ɳ����ҡ ��Ҷ֧����������������ҧ��ҧ���ǻ���ȡ��� 90% �ͧ�������͹������ͧ�Ѻ�÷�ȹ�
    �鹷ع����¤��ٵ�ӷ���ش �������ö�֧�ٴ���������ɳ����ʹ����     �����÷�ȹ��բ����������
    �鹷ع������Թ����ͧ�����٧�ش ����觢ѹ�ҡ�÷�ȹ��ͧ��ҧ� ������ŷ��� ��������ҧἹ
    �ɳ��ҡ��� ����Է�ԾŢͧ������͹��ŷ�������Է���Ҿ�ͧ����ɳҹ���ŧ
  2. �����Է�� (Radio Advertising) ����ö����͹������˹���дǡ    �ѧ�����ö   ��ҹ    ���ӧҹ 
    ���ú�ǹ��Ҹ��ҡ ���Դ��¡������͹����ʾ�Դ  ��   �����蹵Դ���     ����˭�Դ��¡�â����Է��
    �ա����ͺ���ҧ�Ԩ���������ѹ���ѧ�� ���ҧ��õͺʹͧ��       �鹷ع���    ��С�˹���鹷����
    �����ͧ��� ��ǹ������¢ͧ�����Է� ����         ����ö���ʹ���੾�����§��ͧ���ҧ�Թ��ҡ��
    �������СѺ��ù��ʹͷ���ͧ����Ҿ��С������͹��� ����������٧������Ҷ֧���     �ըӹǹ
    ʶҹ��ҡ���ѧ������¡�����ѡɳ�����ǹ��� ��ͺ������鹷��ӡѴ ��еԴ������ҡ
  3. ˹ѧ��;���� (Newspaper Advertising) �դ����״�����٧����¹�ŧ��鹧ҹ�ɳ�������
    ��Ҷ֧��੾�Щ�Ѻ����ʹ��˹����٧        �����������´�ͧ�ɳ����ҡ ��鹷����ҧ �����
    ����������Ͷ���٧ �� ˹ѧ��;���������ѧ���˹ѧ��;�����áԨ ��ǹ������¢ͧ˹ѧ��;���� ���� 
    ���������§ 1 �ѹ ������ѹ�����§����ҹԵ���á�д�ɾ��������
  4. �Ե���� (Magazine) ���ѡɳ�੾�С���� �� �Ե���ü��˭ԧ �Ե���ü���� �Ե��������ǡѺ
    ö¹�� ���ͧ�����ٻ ����ͧ���§ �آ�Ҿ ���������� �繵� ��������� 7-30 �ѹ �������ҧ�ԧ�� 
    �س�Ҿ��þ����� ���ѹ��§�� ��д�ɴ� ����ա����ع���¹�ѹ��ҹ�٧ ������¢ͧ�Ե���� ��� 
    ��Ҷ֧੾�С���� ����״���� �����ҫ���������ǧ˹�ҹҹ�Ѻ��͹ ����������ö���͡���˹���
    ¡��鹵��˹��Ӥѭ �� ��˹�� ����ѧ
  5. ��ɳ��� (Direct Mail) ����ö���͡������������� ���ѡɳ�����ǹ��� �������ͧ�觢ѹ�Ѻ
    �ɳ����� ������¢ͧ��ɳ��� ��� �ѡ�ж١�¹���������Դ�͡��
  6. �����ɳ� (Outdoor) �յ鹷ع��� ������ҧ���������աѺ���������鹷ҧ��� ���բ������ ����
    ��ͤ����������ըӹǹ��ͤ����ӡѴ �բ�ͨӡѴ��ҹ�����Դ���ҧ��ä� ���͡����������������
    ����ջѭ�Ҵ�ҹ��ô�������Ǵ����

ข้อใดคือลักษณะของสื่อโฆษณา

  • หน้าหลัก
  • ประวัติและโครงสร้างองค์กร
  • คำถามที่พบบ่อย
  • ติดต่อเรา
  • แผนผังเว็บไซต์

  • การรับฟังความคิดเห็น
  • กฎหมายยา
  • สืบค้นและสถิติ
  • การกำกับดูแลก่อนออกสู่ตลาด
  • การกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา

ข้อควรรู้สำหรับการโฆษณาขายยา

1. ความหมายของคำว่า “โฆษณา” หมายถึง
​- การเผยแพร่หนังสือไปยังสาธารณชน (ความหมายตามพจนานุกรม ฯ)

การป่าวร้อง ป่าวประกาศ การกระทำ การไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ ให้ประชาชนเห็นหรือทราบ ข้อความเพื่อประโยชน์ในทางการค้า (ความหมายตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค)


บทบัญญัติตาม พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

  • ข้อห้าม มาตรา 88, 89, 90
  • ข้อบังคับ มาตรา 88ทวิ, 90 ทวิ
  • บทกำหนดโทษ มาตรา 124, 124 ทวิ


การโฆษณาขายยาทางวิทยุกระจายเสียง เครื่องขยายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ทางฉายภาพ หรือภาพยนตร์ หรือทางสิ่งพิมพ์ จะต้อง

1. ได้รับอนุมัติข้อความ เสียงหรือภาพที่ใช้ในการโฆษณาจากผู้อนุญาต

2. ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ผู้อนุญาตกำหนด

เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา มีอำนาจสั่งเป็นหนังสือ ให้ระงับการโฆษณาขายยา ที่เห็นว่าเป็นการโฆษณา โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้

2. สื่อโฆษณา
  • ประเภทสิ่งพิมพ์เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ใบปลิว โปสเตอร์
  • ประเภทเสียง เช่น วิทยุ เครื่องขยายเสียง
  • ประเภทที่มีทั้งภาพและเสียง เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิดิทัศน์
  • ประเภทอื่น ๆ เช่น ป้ายโฆษณา ข้อความบนสิ่งของ
3. ใบอนุญาตโฆษณายา มี 2 แบบ
1. ใบอนุญาตโฆษณายาทางสื่อทั่วไป ( =โฆษณาต่อประชาชนทั่วไป )
ในสื่อสิ่งพิมพ์/โทรทัศน์ จะต้องแสดงข้อความว่า

“ ใบอนุญาตโฆษณา เลขที่ ฆท xxxx / 254x ”

2. คำขอโฆษณายาที่กระทำโดยตรงต่อผู้ประโรคศิลปะ ( =โฆษณาต่อแพทย์, เภสัชกร ฯ)
ในสื่อสิ่งพิมพ์ จะต้องแสดงข้อความว่า

“ ใบอนุญาตโฆษณา เลขที่ ฆศ xxxx / 254x ”
4. การขออนุญาตโฆษณาขายยา จะทำอย่างไร ?
4.1 ตรวจสอบหลักฐาน
๏ ทะเบียนตำรับยา : ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา ฉลากและเอกสารกำกับยา ที่มีข้อความ / ภาพตรงกับที่รับอนุญาต
๏ ประเภทของยา : ถ้าเป็นยาอันตราย/ยาควบคุมพิเศษ โฆษณาได้เฉพาะสื่อที่กระทำ โดยตรงต่อ ผู้ประกอบโรคศิลปะ (แพทย์,เภสัชกร ฯ)
๏ ผู้ขออนุญาตโฆษณา : นิติบุคคล มีหนังสือมอบอำนาจให้ บุคคลทำการขอโฆษณา / ยื่นเรื่อง / แก้ไข / รับเรื่องคืน บุคคลธรรมดา ไม่มาดำเนินการเอง ก็ต้องทำหนังสือมอบอำนาจ

4.2 วางแผนเรื่อง แนวคิด จุดขาย ตารางเวลาดำเนินการ ฯลฯ

4.3 ยื่นคำขอโฆษณาตามระเบียบ ณ สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา ตึก 4 ชั้น 2 กองควบคุมยา กลุ่มงานโฆษณา
๏ สื่อทั่วไป ใช้เวลาประมาณ 10-15 วันทำการ
๏ สื่อโดยตรงต่อผู้ประกอบการโรคศิลปะ ใช้เวลาประมาณ 30 วันทำการ

4.4 รับใบอนุญาต+ข้อความโฆษณา ที่ได้รับอนุญาต หรือ รับหนังสือตอบ กรณีไม่อนุญาต

4.5 ผลิตสื่อโฆษณา ภาพและข้อความตรง ตามที่ได้รับอนุญาต และปฏิบัติให้ตรงตามเงื่อนไข ที่กำหนดไว้
(หากภาพ / ข้อความผิดเพี้ยนจากที่อนุญาต หรือว่าข้อความโฆษณานั้น ไม่ได้รับอนุญาตทั้งหมด)

4.6 ออกเผยแพร่ได้ตามสื่อที่อนุญาต โดยปฏิบัติตามระเบียบของสื่อโฆษณานั้น ๆ

ใบอนุญาตมีกำหนดอายุการอนุญาต คือ


๏ สื่อทั่วไป ภายใน 5 ปี นับจากวันอนุญาต
๏ สื่อโดยตรงต่อผู้ประกอบโรคศิลปะ ภายใน 5 ปี นับจากวันอนุญาต
5. หลักฐาน/เอกสารขออนุญาตโฆษณายา
5.1 แบบคำขอโฆษณา
กรอกข้อความให้สมบูรณ์เลือกประเภทของสื่อเพียง 1 แบบคือ
- สื่อต่อประชาชนทั่วไป หรือ
- สื่อโดยตรงต่อผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือ
- สื่ออื่น ๆ เช่นนิทรรศการ,จัดประชุม ฯลฯ

5.2 ข้อความโฆษณา
- ภาพร่างพร้อมข้อความ กรณีสื่อสิ่งพิมพ์
- สคริปต์ กรณีสื่อที่มีแต่เสียง เช่น วิทยุ
- ภาพพร้อมคำบรรยายภาพและเสียง  กรณีสื่อที่มีทั้งภาพและเสียง เช่นโทรทัศน์

5.3 สำเนาใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยา

5.4 สำเนาฉลาก,เอกสารกำกับยา

5.5 เอกสารอ้างอิง เช่น คำขอโฆษณาเดิมที่เคยได้รับอนุญาต, เอกสารวิชาการ ฯลฯ

5.6 สำเนาเอกสารเกี่ยวกับผู้ขออนุญาต เช่นหนังสือมอบอำนาจ, บัตรประจำตัว ฯลฯ
6. การโฆษณาขายยาจะต้อง
1. ไม่เป็นการโอ้อวดสรรพคุณยา หรือวัตถุที่เป็นส่วนประกอบ ของยาว่าสามารถ บำบัด บรรเทา รักษาฯ ได้อย่างศักดิ์สิทธิ์ หรือหายขาด

2. ไม่แสดงสรรพคุณยา เป็นเท็จหรือเกินจริง

3. ไม่ทำให้เข้าใจว่าวัตถุเป็นตัวยา หรือเป็นส่วนประกอบของยา ซึ่งความจริงไม่มี หรือมีแต่ไม่เท่าที่ทำให้เข้าใจ

4. ไม่ทำให้เข้าใจว่า เป็นยาทำให้แท้งลูก หรือขับระดูอย่างแรง

5. ไม่ทำให้เข้าใจว้าเป็นยาบำรุงกาม หรือยาคุมกำเนิด

6. ไม่แสดงสรรพคุณยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษ

7. ไม่มีการรับรอง หรือยกย่องสรรพคุณยา โดยบุคคลอื่น

8. ไม่แสดงสรรพคุณยาว่า สามารถบำบัดบรรเทา รักษาโรคที่รัฐมนตรีประกาศฯ (โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค โรคเรื้อน โรคเกี่ยวกับสมอง หัวใจ ปอด ตับ ม้าม ไต )

9.ไม่โฆษณาโดยไม่สุภาพ หรือโดยการร้องรำทำเพลง หรือการแสดงอาการทุกข์ทรมาน ของผู้ป่วย

10.ไม่โฆษณาขายยา โดยวิธีแถมพก หรือออกสลากรางวัล

7. ข้อห้ามในการโฆษณายา เพิ่มเติม
ข้อใดคือลักษณะของสื่อโฆษณา
8. ตัวอย่างข้อความที่สันนิษฐานได้ว่าไม่ตรงตามที่ได้รับอนุญาตโฆษณาและเข้าข้อห้ามในการโฆษณายา เช่น
  1. เพลงโฆษณาเป็นสรรพคุณยา
  2. เสียง / ภาพแสดงที่ถึงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
  3. โฆษณาโอ้อวดว่ารักษา / ป้องกันได้อย่างศักดิ์สิทธิ์ / หายขาด เช่น “ยอดเยี่ยม , หายแน่ , วิเศษยิ่ง , ปลอดภัยไม่มีผลข้างเคียง”
  4. โฆษณาสรรพคุณยาอันตราย / ยาควบคุมพิเศษ เช่น “รักษาไทรอยด์ , ลดน้ำตาลในเลือด , เป็นยารักษาสิว / ฝ้า , ยากินแก้ปวดท้องน้อย เนื่องจากการอักเสบของท่อปัสสาวะ , ยากินแก้ปวดข้อ ข้อเสื่อม”
  5. โฆษณาแสดงสรรพคุณยาเป็นเท็จ / เกินจริง เช่น “แก้อาการหลงลืม , รักษาโรคเอดส์ , ละลายไขมัน / ลดไขมัน / ลดน้ำตาลในเลือดในการโฆษณายาระบาย , เสริมสมรรถภาพทางเพศในการโฆษณายาบำรุงร่างกาย”
  6. โฆษณาว่าสามารถบรรเทา / บำบัด / รักษา / ป้องกันโรค / อาการโรคที่ห้ามโฆษณาต่อประชาชนทั่วไปดังนี้ “มะเร็ง , อัมพาต , วัณโรค , โรคเรื้อน , โรค / อาการของโรคสมอง , หัวใจ , ปอด , ตับ , ม้าม , ไต”
  7. โฆษณาว่า “เป็นยาบำรุงกาม / เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ , เป็นยาขับประจำเดือน , ยาคุมกำเนิด”
  8. รับรองยาว่า “ใช้แล้ว หายปวดหลังเลย” / “มีการระบุชื่อผู้ใช้ยา”
  9. โฆษณาโดยการชิงโชค / แจกแถม / ส่งฉลากยาแลกรางวัล
  10. โฆษณาชักชวนให้ใช้ยาเกินจำเป็น / ใช้ประจำ / ซื้อเป็นของฝาก เช่น “กินทุกวันช่วยระบาย ละลายไขมัน / ยานี้จะเป็นของฝากสำหรับคุณแม่”
  11. โฆษณาโดยแสดงข้อเท็จจริงที่ผิดกฎหมาย เช่น “ซื้อยาจากร้านกาแฟ , มีโจรปล้นธนาคาร”
  12. การโฆษณาที่ขัดต่อธรรมเนียมประเพณีไทย / ไม่สุภาพ