การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

ในอีก 2 ปีข้างหน้า เมื่อ AI เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ความต้องการทรัพยากรบุคคลหรือที่เรียกว่าโปรแกรมเมอร์จะมีเพิ่มมากขึ้น เพราะฉะนั้นจากคำว่า “โปรแกรมเมอร์ “ จะถูกเปลี่ยนชื่อเรียกเป็น “ นักพัฒนา “ หรือ Developer นั่นเอง

โดยเฉพาะปัจจุบัน หากใครที่จบทางด้านการเขียนโปรแกรมสามารถเรียกเงินเดือนเริ่มต้น 30,000 + (ตามความสามารถของการเขียนโปรแกรมที่ถนัด เพราะฉะนั้น ถ้าศึกษาทางด้านการเขียนโปรแกรมสามารถมีโอกาสและแต้มต่อในการทำงานนอนาคตได้ค่ะ 

2.ประโยชน์ด้านการศึกษา

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

ตอนนี้ทางระบบการศึกษาได้นำหลักสูตรการเขียนโปรแกรมเพิ่มเข้าไปในบทเรียนเรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่ระดับ ประถม จนถึงมัยม (ปกติต้องเรียนปริญญาตรี)

ทั้งนี้หากเราเตรียมตัวก่อน เราสามารถนำความรู้ที่ได้มาพัฒนาทำเป็นโปรเจคเสนอเป็นโครงการแข่งขันเพื่อทำการประกวดโชว์ผลงาน ได้มีโอกาสพัฒนาฝีมือ เปิดโลกทัศน์มากขึ้น

3.พัฒนาความคิดสร้างสรรค์

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

ความคิดสร้างสรรค์คือมันสมองของมนุษย์ที่ไม่ควรมองข้าม ทั้งนี้ A.I ยังไม่สามารถสร้างระบบความคิดสร้างสรรค์ได้เต็ม 100% มนุษย์อย่างเราหากจะต้องต่อสู้กับ A.I ให้ได้คือ ความคิด การออกจากกรอบในทางที่สร้างสรรค์

หากเราฝึกการเขียนโปรแกรม และมีความคิดที่สร้างสรรค์ เราจะมีโอกาสในอนาคตอย่างแน่นอน

4.คิดวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน

ข้อดีที่สำคัญในการเขียนโปรแกรมคือ การเรียงลำดับความสำคัญอย่างเป็นขั้นเป็นตอนหรือแม้แต่การคิดหาวิธีแก้ปัญหาทั้งนี้เราสามารถนำเทคนิคเหล่านี้มาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้จากเรื่องยากก็จะเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้นค่ะ 

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

5.ส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์ให้เข้าใจมากขึ้น

การเขียนโปรแกรมเป็นการผนวกร่วมกับคณิตศาสตร์ ผู้ปกครองหรือเด็กบางคนมองว่าการเรียนคณิตศาสตร์มันยาก แต่จะสนุกและเข้าใจมากขึ้นเมื่อมาใช้กับการเรียนเขียนโปรแกรม

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

6.เสริมทักษะทางด้านภาษาที่ดี

นอกจากทักษะการเขียนโปรแกรมที่ต้องมีแล้วทักษะภาษาอังกฤษก็ต้องใช้ไม่แพ้กัน การเรียนภาษาอังกฤษแบบท่องจำอาจจะทำให้เข้าใจช้า แต่การเรียนแบบลงมือทำอย่างการเขียนโปรแกรมเป็นการฝึกในเรื่องของภาษาอังกฤษมากขึ้น นอกจากได้เรื่องของการเขียนโปรแกรมแล้ว ยังได้เรื่องของภาษาอังกฤษอีกด้วย

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

7.เป็นวิชาที่ต้องเรียน

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

เรียนเร็วไปไว เรียนช้าพลาดโอกาส เราไม่สามารถการันตีได้ว่าแหล่งที่มาของเนื้อหาที่เหมือนกัน แล้วการถ่ายทอดเหมือนกัน แต่ข้อมูลการเรียนสมัยนี้เข้าถึงง่ายมาก แทบจะฟรีทุกอย่าง เพราะฉะนั้นรู้ก่อนย่อมมีสิทธิ์ไปได้ไกลกว่าค่ะ 

ขอให้สนุกกับการเริ่มต้นศึกษาเรื่องการเขียนโปรแกรมนะคะ

บทความที่เกี่ยวข้อง

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

คุณครู

สอนเด็กๆ สร้างเกมแบบ Popcat ธีม Halloween ง่ายๆ ใน Scratch กัน!!

สวัสดีวันฮาโลวีนค่ะปีนี้โค้ดคิดส์เราจะมาแนะนำโปรเจคง่ายๆ สอนเด็กๆ ให้สร้างเกมแบบ Popcat

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

ผู้ปกครอง

รู้จักเว็บ Coding Thailand เรียนวิธีคิด ผ่านวิธีโค้ด

ประเทศไทยเราเองก็มีเว็บไซต์ที่ทำโดยคนไทยที่ไม่แพ้ชาติใดในโลกเหมือนกัน โดยคุณครูหรือผู้ปกครองสามารถเข้าไปใช้งานได้ฟรีโดยเป็นการร่วมมือกันของ Coding Thailand 

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

          ขั้นตอนสำคัญในการแก้ปัญหาคือการวางแผน การวางแผนที่ดีจะช่วยในการแก้ปัญหาเป็นไปได้โดยง่าย ผู้ที่สามารถวางแผนในการแก้ปัญหาได้ดี นอกจากจะต้องใช้ประสบการณ์ ความรู้ และความมีเหตุผลแล้ว ยังควรรู้จักวางแผนให้เป็นขั้นตอนอย่างเป็นระบบด้วย การออกแบบโปรแกรมเป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนที่สองของการพัฒนาโปรแกรม วิธีการออกแบบโปรแกรมออกมาในลักษณะข้อความ หรือเป็นสัญลักษณ์ จะช่วยให้สามารถแก้ปัญหาได้ดี โดยเฉพาะปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน การวางแผนจะเป็นแนวทางในการดำเนินการแก้ปัญหาต่อไป อีกทั้งเป็นการแสดงแบบเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามในแนวทางเดียวกัน ทั้งนี้ก็ด้วยวัตถุประสงค์อย่างเดียวกับกลุ่มกิจการก่อสร้าง ซึ่งจำเป็นต้องมีแบบแปลนเป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ออกแบบและผู้ก่อสร้าง แบบแปลนเหล่านี้จะอยู่ในรูปลักษณะของการวาดภาพหรือแสดงเครื่องหมาย ซึ่งเป็นที่เข้าใจระหว่างผู้เกี่ยวข้อง แบบแปลนจะต้องจัดทำให้เสร็จก่อนที่จะลงมือก่อสร้าง โดยผ่านการตรวจสอบ ทบทวนและพิจารณาจากผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย เมื่อเห็นว่าเป็นที่ถูกต้องและพอใจของทุกฝ่ายแล้ว จึงก่อสร้างตามแบบนั้น แต่ถ้ายังไม่เป็นที่พอใจก็จะพิจารณาแก้ไขแบบแปลนส่วนนั้นๆ เสียก่อนจะได้ไม่ต้องรื้อถอนหรือทุบทิ้งภายหลัง และเมื่อต้องการซ่อมแซมหรือต่อเติมก็นำเอาแบบแปลนเดิมมาตรวจสอบและเพิ่มแบบแปลนในส่วนนั้นได้โดยง่าย การใช้แบบแปลนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นระหว่างช่างก่อสร้าง ผู้ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เป็นอย่างมาก เพราะประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายและเข้าใจง่าย เมื่อสรุปรวมแล้วแบบแปลนเหล่านี้ก็คือข้อตกลงให้สร้างอาคารของผู้จ้าง กับผู้รับจ้างที่อยู่ในรูปแบบกะทัดรัด แทนที่จะเขียนเป็นข้อความที่เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างยืดยาว และยังเป็นเครื่องมือให้ช่างใช้ในการก่อสร้างอีกด้วย

เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบโปรแกรม มักจะประกอบขึ้นด้วยเครื่องหมายที่แตกต่างกันหลายอย่าง แต่พอสรุปได้เป็น 2 ลักษณะคือ

  1. ข้อความหรือคำบรรยาย

          เป็นการเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน เพื่อให้ทราบถึงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมแต่ละขั้นตอน ในบางครั้งก็อาจใช้คำสั่งของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้

1.1  จอดรถหลบข้างทาง
1.2  คลายสกรูยึดล้อ
1.3  นำแม่แรงออกยกรถ
1.4  ถอดล้อออก นำยางอะไหล่มาเปลี่ยน
1.5  ขันสกรูเข้า เก็บยางที่ชำรุดเพื่อไปซ่อม
1.6  คลายแม่แรง เก็บแม่แรง

  1. สัญลักษณ์

          การเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน จำเป็นต้องมีการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม เพื่อวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะต้องเขียนโปรแกรมแก้ปัญหาอย่างไร เรียกการวางแผนในขั้นตอนนี้ว่า การจำลองความคิด หรือ อัลกอลิทึม (Algorithm) การออกแบบหรือการเขียนโปรแกรมต้องเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบที่นิยมกันคือ รหัสจำลอง (Pseudo-code) คือการใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่ายๆสามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันทีหรือผังงาน (Flowchart) คือการใช้สัญลักษณ์รูปภาพเป็นตัวสื่อความหมายจากโจทย์ ที่ทำให้ผู้ออกแบบสามารถเขียนลำดับการทำงานและขั้นตอนของการประมวลผลของโปรแกรมได้ โดยไม่ต้องกังวลกับรูปแบบคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์

ความหมายของผังงาน (Flowchart) 

  1. ผังงานคือ การเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของรูปภาพ
  2. ผังงานคือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรก จนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ

3. ผังงาน เป็นเครื่องมือหนึ่งของการออกแบบโปรแกรมที่เป็นที่นิยมใช้ เนื่องจากมีการใช้สัญลักษณ์ในลักษณะของรูปภาพ ทำให้สามารถเห็นลำดับขั้นตอนวิธีการทำงานได้ชัดเจนกว่าการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความ

ประเภทของผังงาน

  1. ผังงานระบบ (System Flowchart)

          เป็นผังงานแสดงขั้นตอนการทำงานทั้งหมด ในผังงานประเภทนี้จะเห็นระบบงานภายในของระบบหนึ่งๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานทั้งหมด ทั้งวัสดุ เครื่องจักร โปรแกรม และบุคลากรจุดมุ่งหมายของการใช้ผังงานระบบ เพื่อให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของระบบทั้งหมด หรือภาพรวมของระบบทั้งหมดตั้งแต่เริ่มต้นจนสุดท้ายว่ามี ขั้นตอนอะไรบ้าง แต่ละขั้นตอนทำอย่างไร ใช้วิธีการอะไรบ้าง ผังงานระบบนี้เหมาะสำหรับผู้บริหาร ผู้วิเคราะห์ระบบและผู้เขียนโปรแกรม แต่ผังงานระบบนี้ยังไม่สามารถนำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมได้

  ลักษณะของผังงานระบบ

1)  แสดงขอบเขตของระบบทั้งหมด
2)  แสดงข้อมูลเข้าถูกเก็บอยู่ที่ใดบ้าง ใช้สื่อบันทึกข้อมูลแบบใด
3)  ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ที่ใด

  1. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)

          หรือที่นิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า Flowchart ผังงานประเภทนี้เป็นผังงานซึ่งแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียดของโปรแกรม โดยจะแสดงรายละเอียดของขั้นตอนการทำงานอย่างชัดเจนไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนของการรับข้อมูลเข้า การคำนวณ (การประมวลผล) และการแสดงผลลัพธ์

          สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute : ANSI) ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานไว้เป็นมาตรฐานแล้ว ซึ่งมีรายละเอียด รูปแบบและความหมายที่ควรทราบ ดังนี้

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

1. การเริ่มต้นและสิ้นสุด ใช้สำหรับกำหนดค่าเริ่มต้นและจุดจบของการทำงาน ผังงานที่ดีควรมีจุดเริ่มต้นและจุดจบอย่างละ 1 จุด เท่านั้น

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

2. การประมวลผล ใช้สำหรับแสดงผลการประมวลผล เช่น การคำนวณหรือการกำหนดค่า

3. การรับและแสดงผล เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลจากสื่อบันทึกข้อมูลได้หลายทาง เพราะฉะนั้นการเขียนผังงาน สัญลักษณ์ที่ใช้ในการรับและแสดงผลข้อมูลมีหลายชนิด

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

รับข้อมูลและแสดงข้อมูลผลลัพธ์ โดยไม่ระบุสื่อที่ใช้

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

ป้อนข้อมูลเข้าทางแผงแป้นอักขระ (Keyboard)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

การรับข้อมูลหรือการแสดงข้อมูล โดยใช้เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

รับหรือการแสดงผลข้อมูลโดยจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) เป็นสื่อ

4. การแสดงผล (Output)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

การแสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์พิมพ์ลงกระดาษต่อเนื่อง (Continuous Paper)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

แสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ (Monitor)

5. การตัดสินใจ (Decision)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

แสดงการเปรียบเทียบหรือการตัดสินใจ

6. การทำซ้ำ (Loop)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

การกำหนดค่าต่างๆ ล่วงหน้า ใช้ในการทำงานซ้ำๆ กัน

7. การแสดงจุดต่อ (Connector)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

แสดงจุดต่อเนื่อง จากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งในหน้าเดียวกัน

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

แสดงจุดต่อเนื่อง จากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งอยู่คนละหน้า

8. การแสดงทิศทาง (Flow Line)

การออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมมีประโยชน์อย่างไร

แสดงทิศทางการทำงานต่อเนื่องตามลูกศรที่ชี้

 

 

วิธีการเขียนผังงานที่ดี         
1) ทุกผังงานต้องมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเพียงอย่างละหนึ่งแห่งเท่านั้น
          2) ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้าออก
          3) ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำหนดไว้
          4) สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นมีเฉพาะลูกศรชี้ทิศทางออก
          5) สัญลักษณ์จุดสิ้นสุดมีเฉพาะลูกศรชี้ทิศทางเข้า
          6) สัญลักษณ์การตัดสินใจมีลูกศรชี้เข้า 1 ทิศทาง และชี้ออก 2 ทิศทาง คือ กรณีที่ผลที่ได้จากการตัดสินใจเป็นจริง หรือ เป็นเท็จ
          7) ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่างหรือซ้ายไปขวา
         8) คำอธิบายในภาพควรสั้นกะทัดรัด และเข้าใจได้ง่าย
         9) ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
         10)  เส้นของลูกศรที่ใช้บอกทิศทางของลำดับขั้นตอนวิธีการทำงาน ไม่ควรเขียนตัดกันหรือทับกัน
         11) ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำงานก่อนนำไปเขียนโปรแกรม

ประโยชน์ของผังงาน มีดังนี้

          1) ใช้สำหรับติดต่อประสานงานระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับนักเขียนโปรแกรม หรือนักเขียนโปรแกรมกับผู้ใช้ ทำให้เข้าใจและเห็นภาพขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
          2) ทำให้ง่ายในการเขียนโปรแกรม มองเห็นลำดับการทำงาน รู้ว่าสิ่งใดควรทำก่อน-หลัง และสามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
          3) ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง เพื่อให้นักเขียนโปรแกรมคนอื่นได้ทราบ เพราะผังงานไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ ทำให้เรียนรู้และเข้าใจการทำงานได้ง่าย
          4) จะช่วยในการปรับปรุง แก้ไข และบำรุงรักษาโปรแกรมทำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

เอกสารอ้างอิง

น้อย สุวรรณมณี และคณะ.(2553). หนังสือเรียนแม็ค การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่มที่ 3. (หน้า 82-85).กรุงเทพฯ : แม็ค.

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)(2558). คู่มือครูหนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เล่มที่ 3 (หน้า 80-82).กรุงเทพฯ :

คุณภาพวิชาการ (พว.).สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ(2553). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6(หน้า 196-200).กรุงเทพฯ :

สกสค.ลาดพร้าว.ฝ่ายตำราวิชาการคอมพิวเตอร์. (2553). การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ภาษาซี)(หน้า 21-23).

กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.อาณัติ  รัตนถิรกุล. (2553).สร้างระบบ e-Learning ด้วย moodle.กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียน

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการออกแบบโปรแกรมก่อนการเขียนโปรแกรมจริง ช่วยทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม ช่วยทำให้โปรแกรมทันสมัย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม

การออกแบบก่อนการเขียนโปรแกรมสามารถทำได้ด้วยวิธีใด

การออกแบบโปรแกรม (Design a Program).
ควรเขียนขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) ทั้งหมดก่อนเขียนผังงาน (Flowchart) จะทำให้เพิ่มหรือลดขั้นตอนได้ง่ายและเขียนผังงานได้สะดวกขึ้น.
ใช้สัญลักษณ์ตามมาตรฐานของสถาบัน ANSI..
ข้อความที่ใช้ในสัญลักษณ์ควรจะเป็นข้อความสั้นๆ ที่อ่านเข้าใจและชัดเจน.

สิ่งแรกที่ต้องทำก่อนเขียนโปรแกรมคืออะไร

การวิเคราะห์ปัญหาเป็นขั้นตอนแรกและเป็นขั้นตอนที่สําคัญที่สุด ผู้พัฒนาโปรแกรม จะต้องทําก่อนที่จะเขียนโปรแกรมจริงเพื่อทําความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้น และค้นหาจุดมุ่งหมาย หรือสิ่งที่ต้องการ การวิเคราะห์ปัญหาต้องกําหนดให้ได้ว่า โจทย์ต้องการอะไร ใช้ตัวแปรเท่าไหร่ ทําอย่างไรจึงจะแก้ปัญหานั้นได้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยขั้น ...

ข้อดีของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการออกแบบคืออะไร

การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ จะทำให้ผู้ออกแบบมีความคล่องตัวในการทำงาน และสามารถใช้เวลาให้เป็นประโยชน์มากขึ้น วิธีสร้างภาพ ๓ มิติวิธีหนึ่งที่อาศัยการตัดรูปทรงมาตรฐาน เช่น กรวยทรงกลม และทรงกระบอก จะช่วยให้ได้ภาพ ๓ มิติ ของชิ้นงาน ที่มีรูปร่างซับซ้อนได้