ประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนตมีอะไรบ้าง

รับประทานแคลเซียมอย่างไรให้ได้ผล

ประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนตมีอะไรบ้าง

🗣 แคลเซียม คืออะไร
แคลเซียมเป็นแร่ธตุที่พบมากที่สุดในร่างกาย ซึ่งคือบทั้งหมดจะอยู่ในกระดูกและฟัน ในร่างกายคนหนัก 50 กิโลกรัม จะมีแคลเซียมอยู่ประมาณ 1 กิโลกรัม แคลเซียมมีหน้าที่สำคัญต่อการทำงานของร่างกายเกือบทุกส่วน และที่สำคัญยังมีหน้าที่สร้างกระดูก ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักของร่างกาย

🗣 การเลือกรับประทานแคลเซียมให้ได้ผล

  1. แคลเซียมที่ละลายน้ำได้ดี ได้แก่ แคลซียมซิเตรท แคลเซียมแลคเตท กลูโคเนท การรับประทานแคลเซียมชนิดเม็ดฟู่ หรือผงชงดื่มจะละลายได้ดีกว่าชนิดเม็ด
  2. การรับประทานครั้งละ 600-800 มิลลิกรัม ดูดซึมได้ดีกว่าปริมาณมาก ๆ

🗣 ควรรับประทานแคลซียมพร้อมมื้ออาหารเย็น เพราะช่วงเวลากลางคืนเป็นช่วงที่แคลเซียมไหลออกจากกระดูกมากที่สุด ปริมาณแคลเซียมที่สูงขึ้นจะป้องกันการไหลออกจากกระดูก ป้องกันไม่ให้กระดูกบางได้

🗣 การเลือกรับประทานแคลเซียมให้ได้ประโยชน์สูงสุด

  1. เลือกสูตรที่มีส่วนผสมของแคลเซียมชิเตรท และแคลเซียมแลคเตทกลูโคเนท  เพื่อให้ละลายน้ำได้ดี
  2. เลือกแคลเซียมที่มีส่วนผสมของวิตามินดี เพื่อช่วยในการดูดซึมแคลเซียม และเป็นประโยชน์ต่อกระดูก

🗣 กรณีที่มีส่วนผสมของแคลเซียมคาร์บอเนตควรรับประทานแคลเซียมหลังจากรับประทานอาหาร เนื่องจากกระเพาะอาหารจะมีสภาพเป็นกรดช่วยทำให้แคลเซียมคาร์บอเนตแตกตัวและละลายน้ำได้ดียิ่งขึ้น

ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2563
ที่มา : รศ. นพ.พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันท์

แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate)

ประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนตมีอะไรบ้าง

แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate)

แคลเซียมคาร์บอเนต มีสูตรทางเคมีคือ CaCo3 ประกอบด้วย CaO 56% และ Co2 44% ในธรรมชาติพบมากที่สุดในแร่แคลไซต์ นอกจากนี้ยังพบใน หินปูน (Limestone)  หินอ่อน (Marble)  ชอล์ค (Chalk) และ โดโลไมต์ (Dolomite)

     สำหรับประเทศไทย แหล่งที่พบแคลเซียมคาร์บอเนตที่มีความบริสุทธิ์สูงสุดอยู่ที่แหล่งแร่แคลไซต์ ต.โคกตูม อ.เมือง จ.ลพบุรี ซึ่งมี% Caco3 สูงกว่า 98%

 คุณสมบัติเฉพาะของแคลเซียมคาร์บอเนต คือ

1. ความถ่วงจำเพาะ 2.71 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร

2. ความแข็ง 3

3. สลายตัวเมื่อถูกเผาที่ 825๐ C

4. สถานะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ

5. ไม่ละลายน้ำและแอลกอฮอล์

แคลเซียมคาร์บอเนตมีราคาถูก เมื่อเทียบกับแร่อื่นๆ และพบได้ทั่วโลก จึงมีการนำมาใช้งานแพร่หลายที่สุด โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยาง อุตสหกรรมพลาสติก อุตสหกรรมสีและกาว อุตสาหกรรมกระดาษ เป็นต้น

04 ธันวาคม 2563

ผู้ชม 20623 ครั้ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แคลเซียมคาร์บอเนต
ประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนตมีอะไรบ้าง
ชื่อตาม IUPAC Calcium carbonate
ชื่ออื่น Limestone; calcite; aragonite; chalk; marble
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [471-34-1][CAS]
RTECS number FF9335000
ChemSpider ID 9708
คุณสมบัติ
สูตรเคมี CaCO3
มวลต่อหนึ่งโมล 100.09 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Fine white powder.
ความหนาแน่น 2.71 g/cm3 (calcite)
2.83 g/cm3 (aragonite)
จุดหลอมเหลว

825 °C (calcite)
1339 °C (aragonite)

จุดเดือด

decomposes

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ .00015 mol/L (25 °C)
Solubility product, Ksp 4.8 x 10-9 [1]
ความสามารถละลายได้ ใน dilute acids soluble
ความอันตราย
MSDS ICSC 1193
EU Index Not listed
NFPA 704

ประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนตมีอะไรบ้าง

0

0

0

จุดวาบไฟ Non-flammable
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

แคลเซียมคาร์บอเนต (อังกฤษ: Calcium carbonate) เป็นสารประกอบมีสูตรเคมีคือ CaCO3

คาร์บอเนต ไม่ละลายในน้ำ แต่สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำและ คาร์บอนไดออกไซด์แล้วกลายเป็นแคลเซียมไบคาร์บอเนต (ซึ่งมีสูตรเคมีคือ Ca (HCO3) 2) แคลเซียมไบคาร์บอเนตละลายในน้ำได้เล็กน้อย

ในธรรมชาติพบในรูปดังนี้:

  • อะราโกไนต์ (Aragonite)
  • แคลไซต์ (Calcite)
  • ปูนขาว (Chalk)
  • หินปูน (Limestone)
  • หินอ่อน (Marble)
  • ทราเวอร์ตีน (Travertine)

เมื่ออยู่ในกระเพาะจะเกิดปฏิกิริยาดังนี้

  • CaCO3 + 2HCl →CaCl2 + H2O + CO2 (gas)

ยาลดกรดมีดังนี้:[แก้]

  • อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ (Aluminium hydroxide) (Amphojel®, AlternaGEL®)
  • แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Magnesium hydroxide) (Phillips’® Milk of Magnesia)
  • อะลูมิเนียมคาร์บอเนต (Aluminium carbonate) gel (Basajel®)
  • แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium carbonate) (Tums®, Titralac®, Calcium Rich Rolaids®)
  • โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate) (Bicarbonate of soda)
  • ไฮโดรทัลไซต์ (Hydrotalcite) (Mg6Al2 (CO3) (OH) 16 · 4 (H2O) ; Talcid®)
  • อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์และ แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์(Maalox®, Mylanta®)

อ้างอิง[แก้]

  1. Pradyot Patnaik. Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill, 2002, ISBN 0-07-049439-8

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • International Chemical Safety Card 1193

กลุ่มยาหลัก

ทางเดินอาหาร/
เมแทบอลิซึม (A)

กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่

เลือดและอวัยวะ
สร้างเลือด (B)

สารต้านลิ่มเลือด (สารกันเลือดเป็นลิ่ม , สารต้านเกล็ดเลือด , สารสลายลิ่มเลือด) • ยาต้านการตกเลือด (สารก่อลิ่มเลือด , ยาต้านการสลายลิ่มเลือด)

ระบบหัวใจ
และหลอดเลือด (C)

ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์)

ผิวหนัง (D)

สารทำให้นุ่มและชุ่มชื้น • สารก่อแผลเป็น • ยาแก้คัน • ยารักษาโรคสะเก็ดเงิน • สิ่งแต่งแผล

ระบบสืบพันธุ์ (G)

ยาคุมกำเนิด • ยากระตุ้นภาวะเจริญพันธุ์ • SERMs • ฮอร์โมนเพศ

ระบบต่อมไร้ท่อ (H)

ฮอร์โมนไฮโปทาลามัสและต่อมใต้สมอง • คอร์ติโคสเตอรอยด์ (กลูโคคอร์ติคอยด์ , มิเนอรัลโลคอร์ติคอยด์) • ฮอร์โมนเพศ • ไทรอยด์ฮอร์โมน/ยาต้านไทรอยด์

การติดเชื้อและ
การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI)

ยาปฏิชีวนะ • สารต้านแบคทีเรีย • ยาต้านเชื้อไมโคแบคทีเรีย (ยาต้านวัณโรค , ยารักษาโรคเรื้อน) • ยาต้านไวรัส• วัคซีน • ยาต้านปรสิต (ยาฆ่าโพรโตซัว , ยาฆ่าหนอนพยาธิ)

มะเร็ง (L01-L02)

สารต้านมะเร็ง (แอนติเมแทบอไลต์ , สารอัลคิเลต , สปินเดิลพอยซัน , สารต้านเนื้องอก , โทโปไอโซเมอเรสอินฮิบิเตอร์)

โรคทางระบบ
ภูมิคุ้มกัน (L03-L04)

สารปรับระบบภูมิคุ้มกัน (สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน , สารกดภูมิคุ้มกัน)

กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M)

แอนาบอลิกสเตอรอยด์ • ยาแก้อักเสบ (เอ็นเซด) • ยารักษาโรคข้ออักเสบรูมาทอยด์• คอร์ติโคสเตอรอยด์ • ยาคลายกล้ามเนื้อ • บิสฟอสโฟเนต

สมองและระบบประสาท (N)

ยาระงับความรู้สึก (ยาสลบ , ยาชาเฉพาะที่) • ยาระงับปวด • ยาต้านไมเกรน • ยากันชัก • ยาควบคุมอารมณ์ • ยาต้านโรคพาร์กินสัน
ไซโคเลปติก (ยาคลายกังวล , ยารักษาโรคจิต , ยานอนหลับ/ยาระงับประสาท) • ไซโคอนาเลปติก (ยาแก้ซึมเศร้า , สารกระตุ้น)

ระบบทางเดินหายใจ (R)

ยาแก้คัดจมูก • ยาขยายหลอดลม • ยาแก้ไอ • H1 แอนตาโกนิสต์ (สารต้านฮิสตามีน)

อวัยวะรับความรู้สึก (S)

จักษุวิทยา • โสตวิทยา

อื่น ๆ (V)

ยาแก้พิษ • สารเพิ่มความชัดภาพ • เภสัชรังสี • สิ่งแต่งแผล

ข้อใดเป็นประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนต

ปรับปรุงคุณภาพเนื้อเยื่อกระดาษ ทำให้ผิวเนื้อเยื่อสม่ำเสมอและมีส่วนผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ปรับปรุงคุณสมบัติด้านการพิมพ์ การดูดซับน้ำหมึก ทำให้การวางตัวของโครงสร้างเนื้อเยื่อกระดาษดีขึ้น ช่วยเติมเต็มช่องว่างของเนื้อเยื่อ

ข้อใดเป็นประโยชน์ของแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)

การใช้ประโยชน์แคลเซียมคาร์บอเนตในภาคการเกษตร ส่วนใหญ่จะเป็นในเรื่องการปรับปรุงคุณสมบัติดิน และน้ำ รวมถึงเพื่อการปรับความเป็นกรดด่าง และการฆ่าเชื้อโรค แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) เมื่อผสมกับน้ำจะทำปฏิกิริยารุนแรง ทำให้เกิดการคายความร้อน และทำให้ปริมาตรเพิ่มขึ้น

แคลเซียมคาร์บอเนต มีอะไรบ้าง

แคลเซียมคาร์บอเนต มีสูตรทางเคมีคือ CaCo3 ประกอบด้วย CaO 56% และ Co2 44% ในธรรมชาติพบมากที่สุดในแร่แคลไซต์ นอกจากนี้ยังพบใน หินปูน (Limestone) หินอ่อน (Marble) ชอล์ค (Chalk) และ โดโลไมต์ (Dolomite)

Calcium Carbonate รักษาโรคอะไร

แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) คือ ยาที่ทางเภสัชกรรม/นักวิทยาศาสตร์ได้นำมาผลิตเป็นหลายสูตรตำรับยา เช่น ยากลุ่มบำรุงและเสริมสร้างกระดูก, ยาลดกรด, ยาช่วยย่อย, ยาแก้ท้องอืด, ยาแก้ท้องเสีย, แต่ที่พบมากที่สุดในตลาดยาบ้านเรา จะเป็นรูปแบบของยาบำรุงและเสริมสร้างกระดูก