เทคโนโลยีด้านซอฟต์แวร์มีอะไรบ้าง

งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
Software Computer

2 ความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ หมายถึง รายละเอียดของชุดคำสั่ง (Instructions) ที่เขียนขึ้นอย่างมีลำดับขั้นตอนเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หากไม่มีซอฟต์แวร์เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานได้ ในการสั่งงานใด ๆ

3 หน้าที่ของ Software จัดการเกี่ยวกับทรัพยากรภายในองค์กร
เป็นเครื่องมือในการสร้างความได้เปรียบของทรัพยากรที่มีต่อคู่แข่งขัน เป็นสื่อกลางระหว่างองค์กรและการเก็บสารสนเทศภายในหน่วยงาน

4 ประเภทของ Software แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

5 ความหมายของ Software ระบบ
โปรแกรมชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ประสานกัน และควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดสรรพื้นที่การใช้หน่วยความจำ หรือ ลำดับการพิมพ์งาน

6 ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS)  เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ หน้าที่หลัก ๆ ของระบบปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 6 หลัก การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ การจัดตารางงาน การติดตามผลของระบบ การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน การจัดแบ่งเวลา การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

7 วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
เริ่มตั้งแต่ ค.ศ โดยห้องปฏิบัติการทางวิจัยของ General Motor โดยใช้กับเครื่อง IBM 701 ต่อมาใน ค.ศ ทำให้เกิดระบบปฏิบัติการสำหรับ IBM 704 ขึ้น ซึ่งมีประสิทธิภาพดีเด่นในยุคนั้น ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มี โปรแกรมที่สามารถควบคุมการปฏิบัติงานเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ใช้ประโยชน์ของเครื่องได้สูงสุด Supper computer Mainframe computer Mini computer Workstation Micro Computer

8 ประเภทของระบบปฏิบัติการ
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท แบ่งเป็นโปรแกรมที่ทำงานด้านควบคุม (Control Programs) โปรแกรมที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง แบ่งได้ 2 ประเภท - Supervisor การจัดการทั่วไปเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ อยู่ภายใต้ความควบคุมของ หน่วยความจำหลักใน CPU - โปรแกรมควบคุมงานด้านอื่น ๆ

9 ระบบปฏิบัติการของไมโครคอมพิวเตอร์(Microcomputer Operating System) จะมีลักษณะเฉพาะโดยขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการและฮาร์ดแวร์ ซึ่งจะไม่สามารถใช้งานข้ามระบบปฏิบัติการได้ Dos  (Disk Operating System)  เป็นระบบปฏิบัติการซึ่งได้มีการพัฒนาขึ้นเมื่อประมาณปี 1980 เพื่อใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นหลัก ทำงานโดยใช้การป้อนชุดคำสั่งที่เรียกว่า command- line ซึ่งต้องป้อนข้อมูลทีละบรรทัดเพื่อให้เครื่องทำงานตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ ผลิตขึ้นมาครั้งแรกมีชื่อเรียกว่า PC-DOS เพื่อใช้กับเครื่องของบริษัทไอบีเอ็ม และได้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการแบบใหม่ออกมาเป็นของเรียกชื่อใหม่ภายหลังว่า MS-DOS - IO.SYS - MS-DOS.SYS - COMMAND.COM 1. คำสั่งภายใน คำสั่งภายนอก

10 ข. Windows ประมาณปี ค.ศ บริษัทไมโครซอฟต์ ได้พัฒนาซอฟต์แวร์ Microsoft Windows Version 1.0 และได้พัฒนาเรื่อยมาจนถึง Version Microsoft Windows 3.11 ในปีค.ศ ซอฟต์แวร์ดังกล่าว ทำงานในสภาพแวดล้อม ที่เป็นกราฟิกเรียกว่า Graphic User Interface(GUI) ทำหน้าที่แทนดอส ทำให้เกิดความสะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมาก คุณสมบัติเด่น คือทำงานในกราฟิกโหมด เป็น Multi-Tasking และ Generic OS แต่ยังคงทำงานในลักษณะ Single-User OS แต่ก็ยังคงต้องอาศัยระบบปฏิบัติการดอส ทำการบูตเครื่องเพื่อเริ่มต้นระบบก่อน หลังจากนั้นก็ได้มีการพัฒนา Windows ขึ้นอีกหลายตัว ได้แก่ Window 95, Window 98, Window Millennian Edition, Window NT, Window 2000 Professional/Standard, Window XP, Mac OS, OS/2 Warp Client, Unix, Linux, Solaris

11 ระบบปฏิบัติการสามารถแบ่งออกตามลักษณะการทำงานได้
ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Stand – alone ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ระบบปฏิบัติการแบบเปิด

12 ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Stand – alone
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสำนักงาน ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย ได้แก่ - DOS - Windows - Unix - Mac OS X - Linux

13 2. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ( Embedded OS )
 เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทำงานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับกับการทำงานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ตัวอย่างได้แก่ - Pocket PC OS (Windows CE เดิม) ย่อขนาดการทำงานของ Windows ให้มีขนาดเล็กลงและกะทัดรัดต่อการใช้งานมากขึ้น - Palm OS เกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันกับการนำเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรก ๆ เรียกกันว่าเครื่อง Palm - Symbian OS รองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับโทรศัพท์มือถือประเภท Smart phone นอกจากนั้นยังสนับสนุนการทำงานแบบหลาย ๆ งานในเวลาเดียวกันได้ด้วย (multi-tasking ) - OS X ระบบปฏิบัติการที่ใช้ใน iPhone เป็นระบบปฏิบัติการเดียวกับ Mac ช่วยอำนวยความสะดวก รองรับการทำงานพร้อมกันได้หลาย ๆ โปรแกรม - Android ระบบปฏิบัติที่พัฒนาโดย Google มีโปรแกรมการใช้งานได้หลากหลาย

14 3. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย ( Network OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้กับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสำหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ นำไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับผู้ใช้ ได้แก่ - Windows Severออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่าย รองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (Server ) - OS/2 Warp Sever - Solaris

15 4. ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
4. ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ระดับแบบเฟรมคอมพิวเตอร์ 5. ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Operating System) ระบบปฏิบัติการที่สามารถนำไปใช้งานบนเครื่องต่าง ๆ กันได้ (Portable operating system) เช่น ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (UNIX) เป็นต้น

16 การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการการเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษา (Language Software) หมายถึง โปแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานนั้นถูกเขียนขึ้นด้วยภาษาที่เรียกว่า “ภาษาคอมพิวเตอร์” ผู้เขียนโปรแกรม (Programmer)

17 โปรแกรมภาษา แบ่งได้ 3 แบบ คือ ภาษาเครื่อง Machine Language
แบ่งได้ 3 แบบ คือ ภาษาเครื่อง Machine Language ภาษาสัญลักษณ์ Symbolic Language ภาษาระดับสูง (High Level Language)

18 ภาษาเครื่อง Machine Language
เป็นภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยมีโครงสร้างและพื้นฐานเป็นเลขฐาน 2 เช่น และ เป็นต้น และตัวสริง (String) ซึ่งเครื่องสามารถเข้าใจพร้อมที่จะทำงานตามคำสั่งได้ทันที - ส่วนที่บอกประเภทคำสั่ง - ส่วนที่บอกตำแหน่งของข้อมูล ภาษาสัญลักษณ์ Symbolic Language เป็นภาษาที่ที่ปรับปรุงให้ใช้งานง่ายขึ้นโดยสร้างรหัส และ สัญลักษณ์ แทนตัวเลข ภาษาระดับสูง (High Level Language) มีการพัฒนาให้เป็นคำสั่งที่มีความหมายเหมือนกับภาษาที่มนุษย์ใช้กัน เพื่อให้สะดวกกับผู้เขียนโปรแกรมและเป็นอิสระในการปฏิบัติการได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ * ภาษาระดับสูงจะมีกฎเกณฑ์ในใช้ภาษาใช้ภาษาต่างกันแต่ทุกภาษาจะมีโครงสร้างที่เหมือนกัน

19 ประกอบไปด้วยประโยคต่างๆ ที่เหมือนกันแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา ประกอบไปด้วยประโยคต่างๆ ที่เหมือนกันแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร ใช้ในการระบุชื่อและชนิดตัวแปร ประโยคที่ใช้ในการระบุตัวแปร ใช้ในการอ่านข้อมูลเข้ามาเก็บในตัวแปรที่ระบุ ประโยคควบคุม ใช้ในการควบคุมการทำงานว่าจะให้ทำงานในส่วนใดของโปรแกรมซึ่งถ้าไม่มีประโยคควบคุม การทำงานจะทำเรียงตามลำดับคำสั่ง จากประโยคแรก - สุดท้าย ประโยคที่ใช้ในการคำนวณ ใช้ในการคำนวณค่าทางคณิตศาสตร์ ประโยคที่ใช้บอกขอบการทำงาน ใช้ระบุจุดจบขอบการทำงาน

20 ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ 5 ยุค
ยุคที่ 1 ภาษาระดับต่ำ ยุคที่ 2 ภาษาสัญลักษณ์ ยุคที่ 3 ภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจง่าย ยุคที่ 4 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ แบบกราฟิก ยุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ

21 ยุคที่ 1 ภาษาระดับต่ำ เป็นภาษาเครื่องที่แท้จริงประกอบด้วย 0 1 เรียกว่า ภาษาเครื่อง ยุคที่ 2 ภาษาสัญลักษณ์ ผู้พัฒนาให้มีการใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลขฐานสอง ใช้นักเขียนโปรแกรมเมอร์ใช้งานได้ง่ายขึ้น ยุคที่ 3 ภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจง่าย สามารถแทนตัวเลขฐานสองทำให้กลายเป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ที่เข้าใจง่าย เขียนได้ง่ายขึ้น คำสั่งสั้นๆ กระซับมากขึ้น ยุคที่ 4 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ แบบกราฟิก ได้พัฒนาคำสั่งให้เป็นโปรแกรมที่มีส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานแบบกราฟิกมากขึ้น และพัฒนาจนเป็นโปรแกรมเชิงวัตถุ ยุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ เป็นภาษาที่ไม่สนใจถึงคำสั่งหรือลำดับข้อมูลที่ถูกต้อง ผู้ใช้เพียงแต่พิมพ์คำสั่งที่ต้องการลงไปในเครื่องเครื่องพิวเตอร์เป็นประโยคหรือคำที่ผู้ใช้เข้าใจ

22 โปรแกรมยูทิลิตี้ Editor โปรแกรมที่สามารถเปลี่ยนแปลงลักษณะต่าง ๆ
Debugging โปรแกรมทดสอบความผิดพลาดของโปรแกรม Copy ใช้คัดลอกข้อความ หรือ ถ่ายข้อมูล

23 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไปหรือซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับระบบจัดการฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ ซอฟต์แวร์กระดานคำนวณ ซอฟต์แวร์จัดการข้อมูลด้านงานธุรกิจ ซอฟต์แวร์นำเสนอ ซอฟต์แวร์เพื่อการติดต่อสื่อสารแลเข้าถึงข้อมูล

24

25 2. ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
2. ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน โปรแกรมบัญชี โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม โปรแกรมด้านการเข้าคิวชำระค่าโทรศัพท์และสินค้าต่าง ๆ โปรแกรมด้านการจองห้องพักโรงแรม โปแกรมช่วยในการเรียนการสอน เกม โปรแกรมเพื่องานออกแบบ โปรแกรมตรวจสอบ / ป้องกันไวรัส โปรแกรมมิลติมีเดีย

26 ความสัมพันธ์ระหว่าง ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และฮาร์ดแวร์
ความสัมพันธ์ระหว่าง ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์

27 วิธีเลือกซอฟต์แวร์ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรม
เลือกความเหมาะสม เหตุผลประกอบ การพิจารณาขององค์การ การพิจารณาการสนับสนุน พิจารณาประสิทธิภาพของตัวโปรแกรม

28 ข้อดี – ข้อเสีย ระหว่างการจัดจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์กับการจัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูปในองค์กร
ข้อดี ของการจัดจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์ ประหยัดค่าใช้จ่าย การบริการบำรุงรักษา ซอฟต์แวร์มีความยืดหยุ่นรองรับอนาคต สามารถนำบุคลากรไปพัฒนางานอื่น ๆ ขององค์การได้ การจัดการเงินทุน ค่าใช้จ่าย

29 ข้อเสีย ของการจัดจ้างพัฒนาซอฟต์แวร์
สูญเสียการควบคุม ความต้องการพึงพา ความลับของหน่วยงาน หน่วยงานมีข้อจำกัดในด้านเวลา งบประมาณ กำลังคน ซอฟต์แวร์นั้นไม่มีผลกระทบต่อความมั่นคงของหน่วยงาน เมื่อต้องการการบริการบำรุงรักษาเพื่อป้องกันความเสียหาย มีกำหนดเกณฑ์ในการประเมินการจัดจ้าง มีการพิจารณากำหนดค่าตอบแทนที่สมเหตุสมผล มีกำกำหนดสิทธิทางลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ให้แน่ชัด

30 การจัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูปในองค์กร
เหตุผลในการจัดซอฟต์แวร์สำเร็จรูปในองค์กร ลักษณะงานของซอฟต์แวร์ ขาดบุคลากรที่มีความรู้ ข้อดี มีราคาต่ำ ความน่าเชื่อถือ การประมาณการเวลาจัดหา ข้อเสีย ความไม่ตรงกับความต้องการของหน่วยงาน ไม่สามารถกำหนดรูปแบบรายงานได้ การคำนวณพิเศษ

31 ข้อพิจารณาในการจัดหาซอฟต์แวร์สำเร็จรูป
พิจารณาความสามารถด้านงานที่ครอบคลุม พิจารณาความยืดหยุ่นของซอฟต์แวร์ว่าสามารถปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมได้ พิจารณาความเป็นมิตรต่อผู้ใช้ของซอฟต์แวร์สำเร็จรูป พิจารณาความต้องการฮาร์ดแวร์ ความสะดวกในการติดตั้งใช้งาน ความสะดวก ความยากง่ายในการบำรุงรักษา เอกสาร คู่มือ ประกอบซอฟต์แวร์ ราคาค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายตั้งต้น และค่าใช้จ่ายสิ้นเปลือง การบริการหลังการขาย

32 กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์
ความเป็นมาของกฎหมายลิขสิทธิ์ ปรากฏครั้งแรกราว พ.ศ.2445 ในรัชกาลที่ 5 เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ในงานวรรณกรรม (Literacy) เรื่อง “วชิรญาณวิเศษ” ปี พ.ศ.2457 ในรัชกาลที่ 6 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายใหม่ในโดยยังคงเน้นงานด้านวรรณกรรม ปีพ.ศ.2474 ในรัชกาลที่ 7 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มีความครอบคลุมงานอื่น ๆ อีกเช่น งานคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และผลงานของชาวต่างชาติ แต่บทลงโทษยังเป็นสถานเบา ปีพ.ศ.2521 ได้เพิ่มงานสื่อภาพ เสียง และวีดีโอให้ครอบคลุมของกฎหมาย ปีพ.ศ.2534 ได้ประกาศขยายความครอบคลุมงานด้านวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ การนำไปเผยแพร่และการให้เช่า งานด้านสื่อภาพ เสียง (Visual – Sound – Video) พระราชบัญญัติฉบับนี้ถูกใช้มาจนถึงปัจจุบันโดยเริ่มบังคับใช้ในวันที่ 21 มีนาคม 2538 ภายใต้ความรับผิดชอบดูแลของกรมลิขสิทธิ์ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ (Department of Intellectual Property - DIP)

33 ลิขสิทธิ์ในซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
  คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ถูกกำหนดนิยามเป็นชุดของคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หรือได้ผลลัพธ์ใด ๆ ออกมา ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ถือเป็นงานวรรณกรรม (Literacy) คล้าย ๆ กับหนังสือ บทประพันธ์ บทบรรยาย การละเมิดลิขสิทธิ์จะถูกลงโทษโดยการปรับ 20,000 ถึง 200,000 บาท หากละเมิดกระทำไปเพื่อหวังผลกำไร – เป็นการค้า จะปรับ 100,000 ถึง 800,000 บาท หรือจำคุก 6 เดือนถึง 4 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ การป้องกันสิทธิ์จะครอบคลุมตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์งานนั้น ๆ บวก 50 ปี การขอลิขสิทธิ์จะต้องจัดเตรียมหนังสือมอบอำนาจทำการแทน (ถ้ามี) แบบฟอร์มคำร้องขอจำนวน 3 ชุด ชุดสิ่งประดิษฐ์ 2 ชุดหรือภาพถ่าย (ในกรณีมิอาจนำสิ่งของ – ผลงานมายื่นเสนอได้)

34 ข้อยกเว้นเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ด้านคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
ผู้ละเมิดจะไม่มีความผิดหาก - มิได้มีเจตนาเพื่อการค้าหรือแสวงหากำไร  - มิได้ล่วงล้ำสร้างความเสียหายที่รุนแรงใด ๆ ต่อเจ้าของลิขสิทธิ์

35 การบังคับใช้พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์จะครอบคลุมถึงคอมพิวเตอร์จากต่างประเทศ
 - ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์มีสัญชาติหรือเป็นพลเมืองของประเทศที่เป็นสมาชิกของกลุ่ม ความตกลงกรุงเบริน (Berne Convention for Protection of Literacy and Artistic Works) เช่น USA, UK, JAPAN - งานนั้นได้จดสิทธิบัตรไว้ในประเทศที่เป็นสมาชิกของ Berne หรือ TRIPs  (องค์กรต่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกอยู่ เช่น United Nations – UN, WHO – World Health Organization) เป็นต้น

36

37 คำถามท้ายบทเรียน

38 คำถามท้ายบทเรียน Soft ware มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
โปรแกรมภาษาสามารถแบ่งได้กี่แบบ อะไรบ้าง กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ มีอะไรบ้าง โทษของการละเมิดลิขสิทธิ์ของ Soft ware เป็นอย่างไร

เทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์มีอะไรบ้าง

เทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์ ........... ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ - อุปกรณ์รับข้อมูล (Input)เช่น แผงแป้นอักขระ (Keyboard), เมาส์, เครื่องตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครื่องอ่านบัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Strip Reader), และเครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)

เทคโนโลยีด้านซอฟต์แวร์คืออะไร

ฮาร์ดแวร์ที่เป็นคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ เรียกว่า CBIS (Computer-Based Information System) ซึ่งส่วนที่เกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 2. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

โปรแกรมซอฟแวร์มีอะไรบ้าง

ตัวอย่างประเภทของซอฟต์แวร์.
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เช่น Windows, iOS..
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เช่น Microsoft Word. ... .
ซอฟต์แวร์เขียนโปรแกรม (Programming Software) เช่น Eclipse. ... .
ซอฟต์แวร์ไดร์เวอร์ (Driver Software) เช่น ... .
ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility Software) เช่น.

ข้อใดคืออุปกรณ์ทางด้านซอฟต์แวร์ (Software)

ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดของคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์นี้จึง เปรียบเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)