วัตถุประสงค์ ของการพูดมี อะไร บางอย่าง น้อย 5 ข้อ

            การพูดเป็นพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารของมนุษย์ที่สำคัญมากการพูดให้ได้ดีต้องมีการเตรียมการพูด ซึ่งไม่ว่าจะพูดโดยมีวัตถุประสงค์ใดหรือพูดในโอกาสใด ล้วนมีหลักการเตรียมการพูดอย่างเดียวกัน นั่นคือ เตรียมไปตามองค์ประกอบของการพูด ได้แก่ เตรียมตัวผู้พูด เนื้อหาสาระภาษา และสื่ออื่นๆ ทั้งนี้ต้องให้เหมาะกับผู้ฟัง สถานที่ เวลา และโอกาส นอกจากการเตรียมการพูดแล้ว ควรฝึกพูดทบทวนและแก้ไขข้อบกพร่อง จะช่วยให้สามารถพัฒนาการพูดให้ดีขึ้นได้ อย่างไรก็ตามการพูดและการปฏิบัติจะต้องสอดคล้องกัน ต้องพูดดี และทาดีด้วย จึงจะประสบความสำเร็จในชีวิต

����������¢ͧ��þٴ ��� ����ʴ������ʹ͢�ͤԴ��繵�ͼ��ѧ ��м��ѧ����ö�Ѻ�������ͧ������������ç�Ѻ������ͧ��âͧ���ٴ ��ʹ������ö��任�Ժѵ������ҧ�ջ���Է���Ҿ ���¡���

�ٴ�����ҧ㨹֡
���֡��ѧ���ѧ
�ѧ����ª���������ѧ
���ҧ��ѧ㹡������¹�ŧ

����������¢ͧ��þٴ ���� 2 �������˭� � ����
1) ����������¢ͧ��þٴ�·���� ���
2) �����������੾��

1. ������������·���� ��� ��þٴ�������������ѧʹ� ���� ��л�зѺ㨨ҡ��þٴ��� �

  • ����ʹ� ���Դ�����м��ٴ���������������ҧ�� ����Ǥ�� ʹ㨷����Ѻ�ѧ����������ٴ�Ҵ� ���ʹ㨷����Ѻ�ѧ��������ͧ����������������Ҵ�
  • �������� ������¡��ͧ��餹ʹ㨿ѧ��ҹ���ѧ����繡����§�� �е�ͧ�����ѧ���㨴��� ��觡�з����¡���������������ͧ �������¤� ������º���§����¤�����µ�͡������ �繵�
  • ������зѺ� ��� �������㨷��Ѵਹ ���ͧ����Ҿ ��觷����¡����Ӥ� ��ͤ�������֡��駡Թ� ���ع�ç���������� ��ʹ���ػ���ػ��µ�ҧ � �繵�

�ѧ��� 㹡�þٴ�ء���� ���ٴ�е�ͧ��������������� ��駤ӹ� ��������ͧ �����ػ������ʹ���ͧ�ѹ ���ͪ��������ʺ�������㹡�þٴ�ء � ����


จุดมุ่งหมายของการพูด
จุดมุ่งหมายของการพูด
การพูดแต่ละครั้งมีจุดมุ่งหมายต่างกัน ผู้พูดจะต้องรู้จักจุดมุ่งหมายที่พูดได้อย่างถูกต้องตรงความต้องการของผู้ฟังมีนักพูดบางท่านเวลาพูดในโอกาสต่างๆ ไม่เข้าใจไม่รู้ซึ้งถึงความมุ่งหมายที่เขาต้องการให้พูด แต่กลับไปพูดนอกเรื่องที่ไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายที่วางไว้ ก็เป็นผลทำให้ผู้ฟังเกิดความเบื่อหน่ายไม่ได้รับประโยชน์จากการฟังเท่าที่ควร เมื่อเป็นเช่นนี้นักพูดที่ดีจะต้องศึกษาวิเคราะห์ให้เข้าใจความมุ่งและวัตถุประสงค์ที่จะพูดแต่ละครั้งให้ชัดเจนและพูดตรงกับความมุ่งหมายที่วางไว้ โดยกำหนดได้ดังนี้
1) การพูดเพื่อให้ความรู้หรือข้อเท็จจริงแก่ผู้ฟังการพูดแบบนี้เป็นการพูดโดยอาศัยข้อมูลต่าง ๆ ในเรื่องที่ผู้ฟังต้องการจะทราบ การพูดต้องพูดให้ตรงประเด็นและหัวข้อที่กำหนดให้ บางครั้งผู้พูดต้องเตรียมอุปกรณ์ประกอบการบรรยายไปด้วย เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้งในเรื่องที่พูดมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ การพูด เช่นนี้ส่วนมากจะใช้วิธีการพูดด้วยการบรรยาย อธิบาย พรรณนา เล่าเรื่อง ชี้แจง สาธิตและวิธีเสนอรายงาน ฯ
2) การพูดเพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังการพูดแบบนี้ ผู้พูดจะต้องใช้ศิลปะในการพูดหลายๆ แบบเพื่อจูงใจให้ผู้ฟังเกิดความศรัทธาเลื่อมใสมีความคิดเห็นคล้อยตาม หรือกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ผู้พูดตั้งความมุ่งหมายไว้ เช่น การพูดชักชวนให้เลื่อมใสในลัทธิทางศาสนา การพูดให้ประชาชนเลือกตนเองเป็นผู้แทนของนักการเมือง การพูดโฆษณาขายสินค้าของผู้แทนบริษัท ฯ
3) การพูดเพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินหรือเพื่อจรรโลงใจแก่ผู้ฟังการพูดแบบนี้ ผู้พูดต้องเข้าใจว่าบรรยากาศในการพูดก็ดี ความต้องการของผู้ฟังก็ดี เป็นการพูดที่ผู้พูดจะต้องเน้นให้ผู้ฟังเกิดความสนุกสนานบันเทิงควบคู่ไปกับการได้รับความรู้สึกนึกคิดที่แปลกใหม่ เล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นการพูดในลักษณะเสริมสร้างความนึกคิดของผู้ฟังให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับจิตใจของผู้ฟังในทางที่ดีมีความสุขในขณะที่ฟังการพูด เช่น การกล่าวคำสดุดี กล่าวคำอวยพร กล่าวขอบคุณ หรือกล่าวคำปราศรัยในงานบันเทิงต่างๆ ที่จัดขึ้นในโอกาสต่างๆ
4) การพูดเพื่อหาทางแก้ปัญหาหรือคำตอบต่างๆกับการพูดแบบนี้ ผู้พูดจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่พูดได้เป็นอย่างดีหรือสามารถตอบปัญหาต่างๆ ที่ผู้ฟังสงสัยอยากจะรู้อยากจะฟังจากผู้พูด จึงเป็นการพูดในเชิงวิชาการหรือในแนวทางขจัดปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ให้ปรากฏอย่างมีเหตุมีผล บางครั้งก็เป็นการพูดเพื่อตอบปัญหาของผู้ที่มีความสงสัยถามปัญหาขึ้นมา เช่น การพูดสัมมนาในทางวิชาการ การพูดตอบกระทู้คำถามของรัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรี
5) การพูดเพื่อแนะนำและชี้แนะเรื่องต่างๆการพูดแบบนี้ เป็นการพูดในเวลาจำกัดตามลักษณะเรื่องแนะนำและเวลาที่จะอำนวยให้ ส่วนมากเป็นการพูดแนะนำบุคคล แนะนำการปฏิบัติงานและลักษณะของงานที่ทำของหน่วยต่างๆ การพูดให้คำแนะนำมุ่งการพูดเพื่อให้ผู้ฟังทราบเฉพาะข้อเท็จจริงต่างๆ อย่างย่อๆ พอกับเวลา ใช้กับการรายงานตัวของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อผู้บังคับบัญชา การแนะนำสรุปงานในหน้าที่รับผิดชอบของผู้ใต้บังคับบัญชาต่อผู้บังคับบัญชาในโอกาสตรวจเยี่ยม ฯ
4. องค์ประกอบของการพูด
ธรรมชาติของการพูดโดยทั่วไปมีองค์ประกอบดังนี้
1) ผู้พูด ผู้พูดทำหน้าที่ส่งสารผ่านสื่อไปให้ผู้ฟัง ดังนั้น ผู้พูดจะต้องมีความสามารถใช้ทั้งศาสตร์และศิลปะของตนเอง ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดไปสู่ผู้ฟังให้ได้อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน ความสามารถของผู้พูดที่จะทำให้ฟังได้เข้าใจมากน้อยแค่ไหนนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้
- ผู้พูดมีความสามารถในการใช้ภาษา เสียง และกิริยาท่าทางเพียงไรผู้พูดมีเจตคติต่อเรื่องที่จะพูด และต่อผู้ฟังแค่ไหน ผู้พูดมีระดับความรู้ในเรื่องที่พูดมากน้อย และลึกซึ้งเพียงใดผู้พูดมีฐานะทางสังคม พื้นฐานทางจริยธรรม และวัฒนธรรมอยู่ในระดับใด
2) สาร เนื้อหาที่ผู้พูดส่งไปนั้นจะต้องมีคุณค่า และคุ้มค่าแก่การเสียเวลาของผู้ฟัง ดังนั้น สารที่ผู้พูดส่งไปนั้นจะต้องเตรียมมาแล้วอย่างดี เช่น การ คัดเลือก จัดลำดับขั้นตอน และการฝึกฝนตนเองของผู้พูดอีกส่วนหนึ่ง
3) สื่อ หมายถึง สิ่งที่นำสารไปสู่ผู้ฟัง ได้แก่ เวลา สถานที่ อากาศ และเครื่องรับรู้ต่าง ๆ เช่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นอกจากนี้ยังรวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อื่น ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น
4) ผู้ฟัง ผู้ฟังอยู่ในฐานะที่จะต้องรับสารของผู้พูดโดยอาศัยสื่อเป็นเครื่องนำพาผู้ฟังจะสามารถรับสารได้ตรงกับเจตนาของผู้พูดได้มากน้อยหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับสิ่งอื่น ๆ เช่น ทักษะ ความพร้อม ความสนใจ พื้นความรู้ วัฒนธรรม และเจตคติของผู้ฟังอีกด้วย
5) ปฏิกิริยาจากผู้ฟัง ในขณะที่ผู้ฟังรับสารและแปลสารนั้น ก็จะเกิดปฏิกิริยาตอบ เช่น เมื่อพูดถูกใจหรือเป็นที่พอใจ ก็จะมีอาการผงกศรีษะ ปรบมือหัวเราะ ยิ้ม และแสดงให้เห็นถึงการชื่นชมพร้อมกับตั้งใจฟัง แต่เมื่อพูดไม่ถูกใจหรือไม่พอใจ ก็จะมีการโห่และแสดงให้เห็นถึงความชัง และขัดแย้งต่อผู้พูด เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของการพูดมีอะไรบ้าง

การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า คือ การบอกเล่า ชี้แจง แสดงผลจากเรื่องที่ไปศึกษา ค้นคว้า การพูดรายงานมีความสำคัญในฐานะที่เป็นการเผยแพร่ความรู้ความคิด เพื่อสร้าง ความเจริญงอกงามทางสติปัญญา ดังนั้น จึงถือว่าเป็นทักษะที่ควรศึกษาเรียนรู้และฝึกฝนให้ เกิดความชำนาญ

องค์ประกอบของการพูดมี 3 ประการอะไรบ้าง

การพูด คือ การถ่ายทอดความรู้ความคิด ความรู้สึกหรือ ความต้องการ เพื่อสื่อความหมาย ไปยังผู้ฟังให้ได้ผล ตาม วัตถุประสงค์ของผู้พูด โดยใช้ถ้อยค้า น้าเสียง อากัปกริยา ท่าทาง สีหน้า และสายตาสื่อสารกัน องค์ประกอบของการพูด 1. ผู้พูด 2. สาระหรือเนื้อหาที่พูด 3. ผู้ฟัง วัตถุประสงค์ของการพูด

หลักในการพูดมีอะไรบ้าง

ลักษณะการพูดที่ดี มีองค์ประกอบดังนี้ น้ำเสียงมีพลัง แสดงสีหน้าที่สอดคล้องกับเรื่องที่นำเสนอ ท่าทางต้องเป็นธรรมชาติ ใช้ภาษาฟังง่าย เป็นกันเองกับผู้ฟัง แสดงความรู้สึกออกมาทางสีหน้าและสายตา ให้เสียงของเราช่วยเน้นความรู้สึก จะคิดไปพูดไปก็ได้ แต่อย่าพูดไปอ่านไป ให้พูดในสาระประการเดียว

การพูดที่ดีมีความสำคัญอย่างไร

สิ่งที่สำคัญที่จะช่วยให้เราประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน การเรียน ความรัก และมีความสุข อยู่ตรงไหนก็มีแต่คนรัก คนชื่นชม มีแต่คนอยากใกล้ชิดและผูกมิตรด้วย สิ่งนั้นก็คือ คำพูดของเรา คำพูดที่ดีของเราจะทำให้เรากลายเป็นที่ยอมรับของผู้คนที่อยู่รอบตัว และรวมถึงทุกคนที่มีโอกาสได้พบปะพูดคุยด้วย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของงาน เรื่อง ...