การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร

113-108 การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download

(General Education – Thai Usage for Communication)

การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร

สัปดาห์ที่ หัวข้อ ศึกษาทั่วไป หมายเหตุ
Slide เอกสาร แบบทดสอบ
1  หลักการสื่อสารในชีวิตประจำวัน– ความหมายและความสำคัญของการสื่อสาร
– จุดประสงค์ของการสื่อสาร
– องค์ประกอบของการสื่อสาร
– ประเภทของการสื่อสาร
– ปัญหา/อุปสรรคของการสื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
2  การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร– การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
– ภาษา
– คำ/ความหมายของคำ
– ประโยค
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
3  ระดับภาษาและการใช้ภาษาที่ถูกต้อง– ภาษาพูด ภาษาเขียน
– ภาษาทางการและไม่เป็นทางการ/ระดับภาษา
– ตัวอย่างการใช้ภาษา
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
4  การใช้คำราชาศัพท์และสำนวนไทย– คำราชาศัพท์
– การใช้ราชาศัพท์
– คำนามราชาศัพท์
– คำกริยาราชาศัพท์
– การใช้คำราชาศัพท์ที่น่าสนใจ
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
5  การฟัง– การจับประเด็นสำคัญ
– การจดคำบรรยาย
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
6  การพูด– การเตรียมการพูด
– บุคลิกภาพของผู้พูด
– การพูดในที่ประชุม
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
7  การพูดในโอกาสต่างๆ / การสื่อสารทางโทรศัพท์– จุดประสงค์ของการสื่อสารทางโทรศัพท์
– หลักของการสื่อสารทางโทรศัพท์
– มารยาทในการโทรศัพท์
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
8  สอบกลางภาค
9  การอ่านและการอ่านจับใจความสำคัญ– จุดประสงค์ของการอ่าน
– วิธีการอ่านหนังสือ
– ขั้นตอนการอ่านจับใจความสำคัญ
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
10  การอ่านและการเก็บบันทึกข้อมูล– หัวเรื่อง แหล่งที่มาของข้อมูล และเนื้อเรื่อง
– ตัวอย่าง ส่วนประกอบการเก็บบันทึกข้อมูล
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
11  หลักการเขียนทั่วไปและการเขียนโครงเรื่อง– ความสำคัญของการเขียน
– จุดประสงค์ของการเขียน
– รูปแบบการเขียน
– ขั้นตอนการเขียน
– การเขียนโครงเรื่อง
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
12  การเขียนย่อหน้าและเรียงความ– การเขียนย่อหน้า
– ชนิดของย่อหน้า
– ส่วนประกอบของย่อหน้า
– หลักการเขียนย่อหน้า
– การเขียนเรียงความ /การเขียนความเรียง
– โวหาร
– เครื่องหมายวรรคตอน
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
13  การเขียนย่อหน้าและเรียงความ– การเขียนรายงานวิชาการ
– ขั้นตอนและหลักการเขียนรายงานวิชาการ
– ส่วนประกอบของรายงานวิชาการ
– ตัวอย่างรูปแบบการเขียนรายงานส่วนเนื้อเรื่อง
– การเขียนเชิงอรรถ
– ส่วนอ้างอิง
– บรรณานุกรม
– หลักเกณฑ์การลงรายการบรรณานุกรม
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
14  การเขียนจดหมายเชิญประชุมและรายงานการประชุม– คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการประชุม
– จดหมายเชิญประชุม
– รายงานการประชุม
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
15  จดหมายสมัครงาน– จดหมายส่วนตัว
– จดหมายธุรกิจ
– จดหมายราชการ
– จดหมายสมัครงาน
– แบบฟอร์มจดหมายสมัครงาน
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
16  การสัมภาษณ์งาน– การเตรียมตัวก่อนสัมภาษณ์
– การวางตัวขณะสัมภาษณ์
– คำถามที่มักใช้ในการสอบสัมภาษณ์
– ลักษณะไม่เหมาะสมที่เป็นอุปสรรคต่อการสัมภาษณ์งาน
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
การใช้ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร

ภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารมีความสำคัญอย่างไร

ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของคนในชาติเพื่อการสื่อสารทำความเข้าใจกันและใช้ภาษาในการประกอบกิจการงานทั้งส่วนตัว ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ การบันทึกเรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน และเป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทย จึงต้องเรียนรู้เพื่อให้เกิด ทักษะอย่างถูกต้อง เหมาะสมในการสื่อสาร ...

การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร มีอะไรบ้าง

ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1.วัจนภาษา คือ ภาษาที่ใช้ถ้อยคำ ตัวอักษรเป็นสื่อการติดต่อ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน 2.อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่ถ้อยคำเป็นสื่อ แต่ใช้สีหน้า กิริยา ท่าทาง และสัญลักษณ์ต่างๆ เป็นสื่อการติดต่อ เช่น ภาษาใบ้ ภาษาคนตาบอด สัญญาณต่างๆ

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 1. นักวิชาการ อาจารย์ นักวิจัยทางภาษาไทย 2. นักเขียน นักวิจารณ์ บรรณาธิการ 3. นักสื่อสารมวลชน มัคคุเทศก์ ล่าม ประชาสัมพันธ์

การใช้ภาษาไทยมีอะไรบ้าง

ใช้ถูกตามแบบแผนของภาษาไทย.
ใช้คำสุภาพ หลีกเลี่ยงคำหยาบคาย หรือหยาบโลน.
ใช้คำพูดที่สื่อความหมายแจ่มแจ้ง ไม่กำกวม.
ใช้ภาษาที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจดีระหว่างกัน ก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในหมู่คณะ.
ใช้ภาษาที่เป็นสิริมงคล ในพิธีการต่าง ๆ.
ใช้ภาษาที่ไพเราะ ชวนให้เพลิดเพลินเจริญใจ.
ใช้ภาษาที่เป็นคติเตือนใจ.