การใช้ วัสดุ รองรับ ใต้ เครื่องจักร เป็น หลักการ ป้องกันและควบคุมอันตรายจาก ข้อ ใด

หลักการทั่วไปในการป้องกันและควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน

หลักการทั่วไปในการควบคุมและป้องกันอันตราย 

หลักการทั่วไปในการควบคุมอันตรายจากการทำงาน : มี 3 วิธีหลัก คือ
1. ควบคุมที่ต้นตอหรือแหล่งกำเนิด (Source)
2. ควบคุมที่ทางผ่าน (Path)
3. ควบคุมที่ตัวบุคคล (Reciever)

ควบคุมที่แหล่งกำเนิด 

เช่น ตัวเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ แหล่งสารเคมีที่เป็นพิษ
* การควบคุมที่แหล่ง--มีประสิทธิภาพมากที่สุด
วิธีที่นิยมใช้คือ
1. ใช้สารเคมีหรืออุปกรณ์ ที่มีอันตราย/พิษ น้อย แทน
2. เลือกใช้กระบวนการผลิตที่มีอันตรายน้อย ทดแทน
3. ใช้วิธีปิดปกคลุมให้มิดชิด
4. แยกเอากระบวนการผลิตหรือเครื่องจักรที่มีอันตรายมากไว้ต่างหาก
5. ใช้ระบบทำให้เปียกชื้นแทน
6. ใช้ระบบระบายอากาศเฉพาะที่
7. จัดให้มีวิธีการบำรุงรักษาเครื่องจักร 

ควบคุมที่ทางผ่าน 

คือ วิธีการควบคุมที่ทางผ่านของอันตรายจาก
แห่งกำเนิดไปสู่คนปฏิบัติงาน
วิธีที่นิยมคือ
* ปิดกั้นเส้นทางเดินของอันตราย
* เก็บรักษาวัสดุต่างๆให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
* ออกแบบระบบระบายอากาศที่ดี

ควบคุมที่ตัวบุคคล 

* เป็นวิธีการที่ยากที่สุด และเป็นทางเลือกสุดท้าย
เนื่องจาก เป็นวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
วิธีที่นิยม
* ให้การศึกษาอบรม
* หมุนเวียนสับเปลี่ยนหน้าที่
* ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

วิธีการควบคุมอันตรายจากสภาพแวดล้อม

สภาพแวดล้อมในการทำงาน

1. หลักการทดแทน (Substitution)
2. การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต (Changing the process)
3. การแยกออกหรือใช้ระบบปิด (Isolation or Enclosure)
4. วิธีการทำให้เปียก (Wet method)
5. การระบายอากาศเฉพาะแห่ง (Local exhaust ventilation)
6. การระบายอากาศทั่วไป (General or Dilution ventilation)
7. การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE)
8. การจัดเก็บรักษา การทำความสะอาด (Good House Keeping)
9. การกำจัดมูลฝอย ของเสีย หรือกากอุตสาหกรรม (Waste Disposal)

หลักการควบคุมป้องกันอันตรายจากการประกอบอาชีพด้านบุคคล

* โดยวิธีการจัดการ
* โดยวิธีการด้านการแพทย์ 

โดยวิธีการจัดการ 

อันตรายจากการประกอบอาชีพด้านบุคคล
1. จัดให้มีการปฐมนิเทศ
2. ให้สุขศึกษาและสวัสดิศึกษา
3. สับเปลี่ยนหมุนเวียนคนงาน
4. คัดเลือกคนให้เหมาะสมกับงาน
5. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

โดยวิธีการด้านการแพทย์

อันตรายจากการประกอบอาชีพด้านบุคคล
โดยจัดให้มีการตรวจสุขภาพเป็นประจำ
1. ก่อนเข้าทำงาน
2. ประจำทุกปี
3. พิเศษเฉพาะกลุ่ม
4. คนที่เสี่ยงต่ออันตรายมาก----ตรวจบ่อยกว่ากลุ่มอื่น
5. ตรวจรักษาเมื่อผ่านการเจ็บป่วย--ฟื้นฟูสรรถภาพการทำงาน

เราทุกคนอาจเคยพบเห็นหรือได้ฟังข่าว อุบัติเหตุจากการทำงานซึ่งเกิดจากเครื่องจักร เป็นผลทำให้ได้รับบาดเจ็บสาหัส บางคนสูญเสียอวัยวะจนต้องพิการไปตลอดชีวิต และบางทีก็อาจร้ายแรงถึงขั้นสูญเสียชีวิตได้ ซึ่งสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุอาจเกิดมาจากเครื่องจักรชำรุด หรือเกิดจากความประมาทของพนักงาน ในบทความนี้จะพาทุกคนไปเรียนรู้ความสำคัญของการป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร

สาเหตุของอุบัติเหตุ
1.เกิดจากพนักงานมีความประมาท ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบในการทำงาน เช่น การไม่สวมใส่อุปกรณ์เซฟตี้ การสูญบุหรี่ในขณะปฏิบัติหน้าที่ เป็นต้น
2.พนักงานขาดการฝึกอบรมที่มากพอ แม้จะทำตามกฎระเบียบในการทำงาน แต่ถ้าไม่มีความรู้ในการควบคุมเครื่องจักร ย่อมทำให้เกิดอุบัติเหตุในการทำงานได้ง่าย
3.เครื่องจักรไม่มีเซฟการ์ด บางเครื่องจักรไม่ได้ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
4.เครื่องจักรชำรุดเสียหาย แล้วยังฟื้นใช้งานโดยที่ไม่ได้ปิดปรับปรุงแก้ไข

วิธีการป้องกันการเกิดอันตรายจากเครื่องจักร
1.ดำเนินการติดตั้งเซฟการ์ด
2.หมั่นตรวจสอบสภาพเครื่องจักร และบำรุงรักษาเครื่องจักรให้พร้อมใช้งานเสมอ
3.พนักงานทุกคนต้องสวมใส่อุปกรณ์เซฟตี้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงานกับเครื่องจักร
4.การฝึกอบรมให้พนักงานทุกคนได้ใช้งานเครื่องจักรได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
5.ปฏิบัติตามกฎระเบียบของการทำงานอย่างเคร่งครัด
6.การมีป้ายห้าม ป้ายเตือน ติดเครื่องจักรที่มีอันตรายทุกที่ เช่น ป้ายห้ามบุคคลภายนอกใช้งานเครื่องจักร  เป็นต้น

อุบัติเหตุจากเครื่องจักรเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ หากเราไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบและประมาทในการทำงาน