โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ

      ส่วนจำนวนและที่มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กำหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 100 คน และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มีจำนวน 125 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง กล่าวคือ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกบัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งที่พรรคการเมืองจัดทำขึ้น โดยใช้บัตรเลือกตั้งหนึ่งใบแยกต่างหากจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งซึ่งแตกต่างกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

การศึกษาโครงสร้างของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายอื่นๆ มีความสำคัญมาก ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นภาพรวมของกฎหมายนั้น สามารถศึกษาและทำความเข้าใจเนื้อหาบทบัญญัติต่าง ๆ สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน (2560) มีบทบัญญัติทั้งสิ้น 279 มาตรา แบ่งออกเป็น 16 หมวด และบทเฉพาะกาลอีก 18 มาตรา ดังนี้


หมวด 1 บททั่วไป (มาตรา 1-5)

หมวด 2 พระมหากษัตริย์ (มาตรา 6-24) 

หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย (มาตรา 25-49)

หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย (มาตรา 50)

หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ (มาตรา 51-63)

หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ (มาตรา 64-78)

หมวด 7 รัฐสภา (มาตรา 79-157)
    ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 79-82)
    ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 83-106)
    ส่วนที่ 3 วุฒิสภา (มาตรา 107-113)
    ส่วนที่ 4 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง (มาตรา 114-155)
    ส่วนที่ 5 การประชุมร่วมกันของรัฐสภา (มาตรา 156-157)

 หมวด 8 คณะรัฐมนตรี (มาตรา 158-183)

 หมวด 9 การขัดกันแห่งผลประโยชน์ (มาตรา 184-187)

 หมวด 10 ศาล (มาตรา 188-199)
    ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 188-193)
    ส่วนที่ 2 ศาลยุติธรรม (มาตรา 194-196)
    ส่วนที่ 3 ศาลปกครอง (มาตรา 197-198)
    ส่วนที่ 4 ศาลทหาร (มาตรา 199)

 หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา 200-214)

 หมวด 12 องค์กรอิสระ (มาตรา 215-247)
    ส่วนที่ 1 บททั่วไป (มาตรา 215-221)
    ส่วนที่ 2 คณะกรรมการการเลือกตั้ง (มาตรา 222-227)
    ส่วนที่ 3 ผู้ตรวจการแผ่นดิน (มาตรา 228-231)
    ส่วนที่ 4 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (มาตรา 232-237)
    ส่วนที่ 5 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (มาตรา 238-245)
    ส่วนที่ 6 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (มาตรา 246-247)

 หมวด 13 องค์กรอัยการ (มาตรา 248)

 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา 249-254)

 หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา 255-256)

 หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ (มาตรา 257-261)

 บทเฉพาะกาล (มาตรา 262-279)


ดาวน์โหลดไฟล์ 

- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564



3.             ให้กำลังใจและสนับสนุนนัการเมืองที่ดีและพรรคการเมืองที่ดี โดยไปออกเสียงเลือกนักการเมืองหรือพรรคการเมืองที่ดีให้มีโอกาสไปปกครองบ้านเมือง รวมทั้งต้องช่วยกันป้องกันนักการเมืองหรือพรรคการเมืองที่ไม่มดีไม่ให้มีโอกาสไปปกครองบ้านเมือง

อ้างอิงที่มา : http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2033-00/  และไพศาล ภู่ไพบูลย์ อังคณา ตติรัตน์ และปนัดดา มีสมบัติงาม. หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม.1. พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

โครงสร้างของรัฐธรรมนูญมีอะไรบ้าง

โครงสร้างหลักของรัฐธรรมนูญไทยนั้น ประกอบด้วย 16 หมวด และบทเฉพาะกาล (รวม 279 มาตรา) อันมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ หมวด 1 บททั่วไป : มาตาราที่ 1-5. หมวด 2 พระมหากษัตริย์ : มาตราที่ 6-24. หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย : มาตราที่ 25-49.

โครงสร้างของรัฐธรรมนูญมีกี่หมวด

การศึกษาโครงสร้างของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายอื่นๆ มีความสำคัญมาก ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นภาพรวมของกฎหมายนั้น สามารถศึกษาและทำความเข้าใจเนื้อหาบทบัญญัติต่าง ๆ สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน สำหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน (2560) มีบทบัญญัติทั้งสิ้น 279 มาตรา แบ่งออกเป็น 16 หมวด และบทเฉพาะกาลอีก 18 ...

รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีโครงสร้างแบบใด

รัฐธรรมนูญไทยระบุว่าประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (เขียนว่า ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) กำหนดให้มีการแบ่งแยกอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับกำหนดให้ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต่งตั้งแตก ...

ลักษณะสําคัญของรัฐธรรมนูญมีอะไรบ้าง

รัฐธรรมนูญนับว่ามีความสำคัญต่อประชาชนเป็นอย่างมาก เพราะว่ารัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มีไว้รับรองสิทธิ เสรีภาพ ผลประโยชน์ประชาชนและเป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ผลประโยชน์ของ ประชาชนด้วย นอกจากนั้นรัฐธรรมนูญยังกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ของผู้ปกครอง ซึ่งเป็นหลักประกันไม่ให้ ผู้ปกครองล่วงละเมิดในสิทธิอัน ...