ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด


ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด


*** วีดีทัศน์แนะนำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ***

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (อังกฤษ: ChiangMai Rajabhat University; ชื่อย่อ: มร.ชม. - CMRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของภาคเหนือ เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค และเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2467 ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" มีบทบาทและความรับผิดชอบในฐานะสถาบันการศึกษาและวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ ตามความต้องการของท้องถิ่น และผลิตครูบุคลากรทางการศึกษา ทำการวิจัยส่งเสริมวิทยฐานะของครู อาจารย์ และบุคลากรประจำการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม

ในปี พ.ศ. 2518 "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" หรือ "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" ตาม "พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518"[1]

ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามวิทยาลัยครูทั่วประเทศว่า "สถาบันราชภัฏ" แปลว่า "ผู้ที่อยู่ใกล้พระราชา" ทั้งยังได้ทรงพระราชทานตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ เป็นตราประจำสถาบันราชภัฏ และเมื่อได้ประกาศใช้ "พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ"[2] ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" จึงมีชื่อเป็น "สถาบันราชภัฏเชียงใหม่"

เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธยใน "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547"[3] อันมีผลให้สถาบันราชภัฏ 41 แห่งทั่วประเทศ เปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" และมีสถานภาพเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่ชาวราชภัฏทุกคน

ในปี พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีอายุครบรอบ 85 ปี

***  การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ในอนาคต  ***

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่สุดในประเทศไทย อันดับที่ 3 รองจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต ตามลำดับ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2552
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ "วิทยาเขตเวียงบัว" อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จะทำการย้ายไปตั้งที่ "วิทยาเขตสะลวง-ขี้เหล็ก" อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ บนพื้นที่ 6,500 ไร่ ถือได้ว่าเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้มีแผนการพัฒนาที่จะเปิดคณะต่างๆ เช่น คณะวิศวะกรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์และรัฐศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ เป็นต้น เพื่อให้เทียบเท่ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงอื่นๆ ของไทย

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

ตราประจำมหาวิทยาลัยเป็นรูปวงรีสองวงล้อมตราพระราชลัญจกรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงพระราชทานให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยเขียนว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่" ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษเขียนว่า "CHIANGMAI RAJABHAT UNIVERSITY" ตรานี้มี 5 สี มีความหมายดังนี้
  •       สีน้ำเงิน  แทนค่าสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ให้กำเนิดและพระราชทานนาม "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" อันแปลว่า "นักปราชญ์แห่งพระราชา"
  •       สีเขียว    แทนค่าแหล่งที่ตั้งของมหาวิทยาลัย ในแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
  •       สีทอง     แทนค่าความเจริญรุ่งเรืองทางภูมิปัญญา
  •       สีส้ม       แทนค่าความรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
  • ██ สีขาว     แทนค่าความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

          


    สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย  ได้แก่ พระพิฆเนศวร เทพเจ้าแห่งปัญญา

   

           ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย   ได้แก่ ต้นเสี้ยวดอกขาว บางที่เรียกว่า ดอกเสี้ยวขาว หรือชงโคดอกขาว

  

  สีประจำมหาวิทยาลัย  ได้แก่ สีดำ-เหลือง

 รายนามผู้บริหารและอธิการบดี

   
รายนามผู้บริหารและอธิการบดี
ลำดับ
(สมัย)
รูปรายนามตำแหน่งสถานะสถานศึกษาวาระการดำรงตำแหน่ง
1
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายชื่น สิโรรส ครูใหญ่ โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ พ.ศ. 2467 - พ.ศ. 2470
2
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
หลวงพิพัฒน์คุรุกิจ ครูใหญ่ โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ พ.ศ. 2470 - พ.ศ. 2480
3
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายสนิท ศิริเผ่า ครูใหญ่ โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2484
4
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายเปรม เปรมศิริ ครูใหญ่
(รักษาการแทน)
โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2485
5
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายทวี โปธาฌานนท์ ครูใหญ่ โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรมณฑลพายัพ
และ โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่
พ.ศ. 2485 - พ.ศ. 2493
6
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายประยุทธ สวัสดิสิงห์ ครูใหญ่ โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2496
7
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายพิษณุ ชัชวาลย์ปรีชา ครูใหญ่ โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2502
8
(1)
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายศิริ ศุขกิจ อาจารย์ใหญ่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 2506
9
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นางบุญฉวี พรหโมปกรณ์กิจ อาจารย์ใหญ่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2507
8
(2)
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายศิริ ศุขกิจ อาจารย์ใหญ่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2507 - พ.ศ. 2508
10
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นางประชุมพร อมาตยกุล อาจารย์ใหญ่
(รักษาการแทน)
วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2509
11
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายประสิทธิ์ สุนทโรทก ผู้อำนวยการ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2509 - พ.ศ. 2515
12
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นางสาวบุญจันทร์ วงศ์รักมิตร ผู้อำนวยการ
และ อธิการ
วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2515 - พ.ศ. 2524
13
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
นายวิเชียร เมนะเศวต อธิการ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2524 - พ.ศ. 2528
14
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
รศ.ดร.มังกร ทองสุขดี อธิการ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ พ.ศ. 2528 - พ.ศ. 2534
15
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
ผศ.ดร.สายสมร สร้อยอินต๊ะ

อธิการ

และ อธิการบดี
วิทยาลัยครูเชียงใหม่
และ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2542
16
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
รศ.วรรณวดี ม้าลำพอง อธิการบดี สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2546
17
ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด
ผศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า อธิการบดี สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
และ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน

คณะและวิทยาลัย

                                                                                                         1.  บัณฑิตวิทยาลัย
                                                                                                         2.  คณะครุศาสตร์

                                                                                                         3.  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

                                                                                                         4.  คณะวิทยาการจัดการ 
                                                                                                         5.  คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ 
                                                                                                         6.  คณะเทคโนโลยีการเกษตร 
                                                                                                         7.  วิทยาลัยแม่ฮ่อนสอน 
                                                                                                         8.  วิทยาลัยนานาชาติ

                                                                                                        1.  วิทยาเขตเวียงบัว
                                                                                                        2.  วิทยาเขตแม่สา
                                                                                                        3.  วิทยาเขตสะลวง-ขี้เหล็ก

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++.... ที่กล่าวมานี้เป็นแค่ข้อมูลเบื้องต้นของทางมหาวิทยาลัยเท่านั้น !!! ....
เรายังมีความสนุกสนานรอน้องๆ อยู่อีกมากมาย....

แนะนำแบบสนุกสนาน...^_^

ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด

เป็นวีดีโอแนะนำสถานที่ต่างๆ และบรรยากาศ ใน ม.ราชภัฏเชียงใหม่

************************************************************************************************

รับน้องแบบสร้างสรรค์.... ^_^

ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด

๑...

ตราพระราชลัญจกรประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ประจำพระองค์รัชกาลที่เท่าใด

๒...

เป็นนโยบายของทางมหาวิทยาลัยที่ให้รุ่นพี่รับน้องอย่างสร้างสรรค์
โดยจะรับน้องเป็นเวลา 1 สัปดาห์ทุกวัน เริ่ม 15.00 - 18.00 น.
เวลา 17.30 น. ก็จะมารวมกันที่กลางสนามเพื่อทำกิจกรรมเล็กน้อย และร่วมเคารพธงชาติร่วมกัน...

*******************************************************************************************************************************

!!!....ยังไงผมก็ขอเชิญน้องๆที่สนใจทางด้านอาชีพครู  หรือ
ยังไม่มีที่เรียน  เข้ามาศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ของเรา
ซึ่งเราได้รับการโหวตว่า เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ดีที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศไทย
ทางเราจึงมีศักยภาพมากพอ... ที่จะสามารถทำให้ความฝันของน้องๆให้เป็นจริงใด้...
พี่ขอฝาก... มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่  ให้เป็นหนึ่งในตัวเลือกของน้องๆ
ที่จะสอบเข้ามหาวิทยาลัยด้วยนะครับ......  ขอบคุณและสวัสดีครับ...!!!

...คนดีสร้างชาติไทย   ราชภัฏเชียงใหม่สร้างคนดี...

( ช่วยกันโหวตและแสดงความคิดเห็นด้วยนะครับ  ^_^ )

แก้ไขครั้งที่ 1 เมื่อ 5 สิงหาคม 2553 / 23:59
แก้ไขครั้งที่ 2 เมื่อ 6 สิงหาคม 2553 / 00:03
แก้ไขครั้งที่ 3 เมื่อ 6 สิงหาคม 2553 / 02:20
แก้ไขครั้งที่ 4 เมื่อ 6 สิงหาคม 2553 / 12:41
แก้ไขครั้งที่ 5 เมื่อ 6 สิงหาคม 2553 / 13:03
แก้ไขครั้งที่ 6 เมื่อ 6 สิงหาคม 2553 / 13:10
แก้ไขครั้งที่ 7 เมื่อ 6 สิงหาคม 2553 / 16:58
แก้ไขครั้งที่ 8 เมื่อ 7 สิงหาคม 2553 / 16:27
แก้ไขครั้งที่ 9 เมื่อ 7 สิงหาคม 2553 / 22:41

ราชภัฏแต่งตั้งในรัชกาลใด

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนาม ” ราชภัฏ ” และตราประจำมหาวิทยาลัย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณและเกียรติยศสูงสุดแก่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร โดยนาม ” ราชภัฏ หมายความว่า เป็นคนของพระราชา”

รัชกาลใดโปรดเกล้าสถาบันราชภัฏ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนาม ” ราชภัฏ ” และตราประจำมหาวิทยาลัย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณและเกียรติยศสูงสุดแก่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร โดยนาม ” ราชภัฏ หมายความว่า เป็นคนของพระราชา”

ม.ราชภัฏมีกี่ที่

เผยแพร่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 3. 98,021. มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั้ง 38 แห่ง แบ่งตามภูมิภาค ดังนี้ กลุ่มภาคเหนือ 8 แห่ง, กลุ่มรัตนโกสินทร์ (กรุงเทพมหานคร) 5 แห่ง, กลุ่มภาคกลาง 3 แห่ง, กลุ่มตะวันตก (พจนก.) 4 แห่ง, กลุ่มภาคตะวันออก 2 แห่ง, กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 11 แห่ง และ กลุ่มภาคใต้ 5 แห่ง

มหาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มีกี่คณะ

คณะในมหาวิทยาลัย ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มีหน่วยงานในการจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 7 คณะ 2 วิทยาลัย (ไม่รวมบัณฑิตวิทยาลัย) ดังต่อไปนี้