ผลการวิเคราะห์ข้อมูล วิจัย

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุของพฤติกรรมที่มีผลต่อการใช้โทรศัพท์มือถือและเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือของนักศึกษาชาย หญิง

ผู้วิจัยได้กำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ดังนี้

                                                                                                            สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

                                                                                                n              แทน       จำนวนคนในกลุ่มตัวอย่าง 

                                                                                                                แทน       ค่าเฉลี่ย

                                                                                                 S.D.       แทน       ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                                                                                                 t               แทน       ค่าสถิติที่ใช้ในพิจารณาการแจกแจง

                                                                                                P             แทน       ความน่าจะเป็นที่สถิติที่ใช้ทดสอบจะตกอยู่บริเวณช่วงปฏิเสธสมมุติฐาน

                                                                                                *              แทน       มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

                                                                                                 **           แทน       มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

            การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

                ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผล โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้

            ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ การศึกษา ชั้นปี โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ

ตอนที่ 2 การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักศึกษาโดยรวมและรายข้อ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Stand Deviation)

ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ของนักเรียนจำแนกตามเพศ การศึกษา ชั้นปี  โดยใช้การทดสอบที

(T-Test)

            ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกตามเพศ การศึกษา และชั้นปี  โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ จำนวนและค่าร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามเพศ และชั้นปี

ตัวแปรที่ศึกษา

จำนวนคน

(N=50)

ร้อยละ

1. เพศ

ชาย

หญิง

20

10

32.0

68.0

รวม

30

                      100

2. ชั้นปี่ที่

4/2

4/3

10

20

48.0

52.0

รวม

                          30

                       100

จากตารางที่ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามในการวิจัยนี้ส่วนใหญ่เป็นเพศชายจำนวน 20 คน (ร้อยละ 32.0) เพศหญิงจำนวน 10 คน (ร้อยละ68.0) ปีที่4/2 จำนวน 10คน (ร้อยละ 48.0)

ชั้นปีที่ 4/3 จำนวน 20 คน (ร้อยละ 52.0) 

ตอนที่ 2 การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรียนโดยรวมและรายข้อ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Stand Deviation) ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นของนักศึกษาชั้นปีที่4 ต่อพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักศึกษา

รายการ

X̅

SD

แปลความ

ด้านการศึกษา

1. ใช้การค้นคว้าข้อมูล

2. ใช้การบันทึกเสียง(ระหว่างการเรียนการสอน)

3.ใช้แปลคำศัพท์

3.48

2.32

2.60

.99

.33

.18

ปานกลาง

น้อย

ปานกลาง

ด้านสังคม

4. เครือข่ายด้านสังคม( facebook,line,twitter,skype   )

5. ใช้ในการติดต่อสื่อสารในรูปแบบเสียง(โทรออก

และรับสาย)

6. ใช้ในการติดต่อสื่อสารในรูปแบบ

ข้อความSMSและMMS

7.ใช้ติดตามข่าวสาร(การเมือง,กีฬา,บันเทิง และ

การท่องเที่ยว)

2.92

2.20

2.92

2.72

2.52

.24

.14

.42

.27

.19

ปานกลาง

น้อย

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

รายการ

X̅

SD

แปลความ

ด้านธุรกิจ

8. ใช้ในการทำธุรกรรมทางการเงิน

9.  ใช้ในการให้บริการขายสินค้า

10. ใช้ในการซื้อสินค้า

3.16

2.84

2.56

.13

.13

.21

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

                                       ด้านการบันเทิง

11. ใช้ในการดูหนัง

12.ใช้ในการเล่นเกม

13. ใช้ในการฟังเพลง

14. ใช้ในการถ่ายรูป

15. ใช้ในการบริการอินเตอร์เน็ต

3.56

3.36

3.68

3.48

2.84

.31

.42

.27

.24

.33

มาก

ปานกลาง

มาก

ปานกลาง

ปานกลาง

จากตารางที่ 2 พบว่าพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือของนักศึกษา

อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 รายการ

ใช้ในการค้นหาข้อมูล (X̅=3.48)

ใช้ในการดูหนัง (X̅=3.56)

ใช้ในการฟังเพลง (X̅=3.68)

ใช้ในการถ่ายรูป (X̅=3.48)

ใช้ในการทำธุระกรรมทางการเงิน (X̅=3.16)

ตอนที่ 3 เปรียบเทียบความแตกต่าง โดยจำแนกตาม เพศ  การศึกษา และชั้นปี ดังตารางที่ 3 - 4

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความแตกต่างของนักศึกษาชายและหญิง

ตัวแปร

X̅

S.D.

T

df

P

ชาย

70.83

16.81

 2.215*

 48

 .032

หญิง

60.53

16.05

จากตารางที่ 3 พบว่าค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักศึกษาชายและหญิงมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบความแตกต่างของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ห้อง 2 และห้อง 3

ตัวแปร

X̅

S.D.

T

df

P

4/2

64.50

19.18

 -276

 48

 .784

4/3

65.94

16.25

จากตารางที่ 4 พบว่าค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือของนักเรียนห้อง 2 และห้อง 3 มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ