เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

��ѹ����Ք �����Ҩ��繨ѧ��Ѵ��������觷����Ҥ���ѹ�͡�ͧ�¡��� ����������¤�����ҷ������ըش�֧�ٴ㨹ѡ��ͧ�������ʶҹ����ͧ����ǵ�������ҵ����ҧ���� ���� ���͹�ӵ���ҹ�� �����ͧ�ѹ���ѧ�ջ���ѵ���ʵ������ǹҹ ������ʹ���㹵���ͧ����������

������Ҷ֧�ѹ����� ���ͧ����ѡ����������稾����ҵҡ�Թ����Ҫ ������ѭ�ѡɳ�ͧ���ͧ�ѹ�� �˵ط���Ǩѹ��������ҧ�����觹���� ���ͧ�ҡ���稾����ҵҡ�Թ�������ͧ�ѹ���繰ҹ���ѧ�Ӥѭ㹡�áͺ����͡�Ҫ�������¡�ا�����ظ�Ҥ��駷�� 2 �ҡ��ҹ�����Ό�ŧ�ͧǧ���Һ�� �礧�¿ѧ�ŧ ���ҵҡ� �����������ŧ����ٴ�֧����ѵ���ʵ��ѧ���������蹡ѹ

��ѡú ��͹ѡú �ѡ�����觡�ا���� �ս�ҷѾ�ͧ�� ���������������Ӥѭ �׹���ѹ�����Ѻ��� �ˡŧ�ǧ���� �����͡�Һ��ا���� ���ҵ����ͧ�ѹ��
��ִ���ͧ�ѹ����� �繪�������ҵҡ �ժ�������ҧ� ����ҽҧ���ᵡ�
��ҡ��ظ�� �����ͧ�ѹ����� �ҡ�ا������ �¨֧���͡�Ҫ�
�ҡ�ҧ��ǹ��ŧ ��ҵҡ �ͧ���Һ�� ���׹§ ���ҡ�� ����оѹ��

�����觹��֧������͹����ʴ������١�ѹ�����ҧ�����ҵҡ�Ѻ������ͧ�ѹ�� ��觷ء��ѹ���ժ�����ͧ�ѹ�� ��йѡ��ͧ������Թ�ҧ���ѡ���дǧ����ԭ�ҳ�ͧ��ҹ���ͤ����������������ҧ������ͧ �ѧࡵ��ҡ���蹸ٻ ��Ф�ѹ��¹���ͺ���������ҧ

�����觷���дش�ҹѡ��ͧ����ǡ��� ��ŷç���������� ���ҧ�����Թ��͹ ��ѧ�����ٻ��������ʹ���� �����վ�к���ٻ���稾����ҵҡ�Թ����Ҫ��зѺ��觷ç���ͧ ��ʶһѵ¡��������§�����ҧ���

�ҡ�оٴ�֧��Ҿ�ҡ�Ȣͧ�����Ѻ��Ҥ�͹��ҧ����ط��� ������ʺ�·����� �Ҩ�����������ҡ����Өѹ����ի��������ӷ��Ҵ��ҹ��ҧ���ͧ������ ������������������ ���ͧ��蹪�������ͧ�ѹ������¡ѹ�ѡ���������¹����������Ҵ��������ӡ�ҧ���ͧ�������·���������
�ʹ���ͧ������ͧ�ѹ���鹤�����������������ͧ����˹�ͧ͢����Өѹ����� �ѹ�����觻���ѵ���ʵ�����Ӥѭ ��������������ǡ�����§�ѹ����ö�Թ�������ҧ��Թ�� �����Ҩ������ҡ�ҧ�ѧ��Ѵ��ѧ��ҫ����ʶһѵ¡���Ẻ������� ����ͧ�Ѻ������稾����ҵҡ�Թ����Ҫ �����ҧ���������Ѫ��ŷ�� 6 �����ѧ������ʶ͹���ѧ�͡�ҡ�ѹ�����

���ͨ����Ѵ�ʶ����ͧ �ѹ���Ѵ�����������ظ�ҵ͹���·�����ҧ�٧�ҡ��鹶��������� ��ͧ�Թ��鹺ѹ�� ���ͪ��շѺ��ѧ��Żкһǹ����ѧ����ҡ����ٻ��ҧ����ç������� ����ҡ�������Ѵ�������蹴��µ�����˭�

��ǹ�ʶ���觷���Ѵ����л��ʹ�Թ���� ������ʶ�����������§����鹡����蹵��˧�ҹ�Ǵ������ѧ����������ѹ��������� �ʶ�ѧ��������ʶ�ͧ��Ǥҷ��ԡ ����ʶһѵ¡���Ẻ⡸ԡ������ٻẺ���Ѳ�Ң���Ҩҡ�ҧ�͹�˹�ͧ͢������� ˹�ҵ�ҧ�� ��дѺ��Ш��շ�����ٻ�ѡ�ح��ҧ� �������©���ͺ����ʶ� ��¨���Ҩ����繩ҡ�觧ҹ��Ф������

�ʹ����ա���ҧ˹�觢ͧ���ͧ�ѹ����ͧ¡������ʧ���º����Զժ��Ե���º���¢ͧ��餹����� ��੾�����ҹ������������� �������ǡ�������Ҵ��ҧ ����dz����آ��Ժ�� �����ҹ�����ǧ ����պ�ҹ���͹���ѡɳ���ͧ�ǵԴ�ѹ ������ء���ҹ������ �Դ�Ѻ��������Ѵ㹡�ا෾� ���ҧ����ԧ

���ҹ�����ҹ�� ���ժ�Ǩչ��Ъ�ǭǹ������������ҧ˹��� �����ǹ�˭�Ѻ�����ʹҤ��ʵ�ԡ�¤ҷ��ԡ ��ҹ���͹����ǡ��������ء������»� ��С�����ҧ��ҹ���͹�ͧ�ҡ�����͡�ѡɳ�ͧ�����������ѡɳФ���¤�֧�ѹ ��蹤�� ���Ҥ�ä͹��յ �ի�����е��� �ҹ˹�ҵ�ҧ��дѺ��©���������ѡ ��ѧ���ا���¡�����ͧ���� ��§���š�ҹ�Ҫ���ԧ�

�͡�ҡ��ùѺ�����ʹҤ��ʵ����� ������ҧ��ҹ�¼�������蹹����ѹ��ɰҹ��Ҥ����Ѻ�Է�Ծ��Ҩҡ�ҵԵ��ѹ���蹡ѹ ���ͧ�ҡ������Ѫ��ŷ�� 5 �������������ִ��ͧ�ǹ������ ������ҧ�Է���˹�ʹԹᴹ��觫��������⢧�ͧ�� �֧�Դ�óվԾҷ������¡�ѹ��� �˵ء�ó� �.�.112 ��� ������ǡѹ�����������蹢�����¡��ͧ�����¡�Թᴹ��觫��������⢧ ��������Թ��һ�Ѻ�ӹǹ 2 ��ҹ��ѧ�� ������ִ���ͧ�ѹ���������繻�Сѹ�����ҧ �.�.2436-2447 ������»�ԺѵԵ���ѭ������ ������ʨ֧����͹�����͡� ������ǡ�Ѻ�Ժ�շ�����ͧ�ѹ�쵡�����������û���ͧ�ͧ������� �֧������š㨷�������ͧ�ѹ������Ѻ�Է�ԾŨҡ�ҵԴѧ������ҡ���������Թ

�Ҫվ�ͧ��餹��ҹ�����ҷ���Թ�� ���к�ҹ���ѡ�Ф�Ң���������� �����ҹ������� ��ҹ����� ��ҹ�Ѵ�� ��ҹ��Ӫҡ�� ��ҹ�Ѵ����� ����繡Ԩ������㹤�ͺ�����������Ҽ���������ҹ�����ҧ����˧�

��駹���ѧ�������֧ �Ҫվ������ù�¾��·��ӡѹ������ͺ�ء��ҹ�ҹ�����Ժ�� �������繢ͧ�������Թ��һ�ШӨѧ��Ѵ�ѹ���������� ���㹪�ǧ�ء�� ����� �ҷԵ�����յ�Ҵ��������Թ���͡���͡ѹ���ҧ�֡�ѡ ��੾�����ҧ��觺���dz����ѭ��շ�����������ҧ�ҡ��ҹ����ҡ�ѡ

�������Ѻ�����ʹء�Ѻ����Ѻ��зҹ �����ᶺ����������� ��Т����� �ʪҵԴ��ҡ���������͡����ѹ���� ��駡����������ҳ ����»���Ҵ��ӡз���ҹ�ѹ �������º�ҡ���ͷ��������ʹ����� �����ԧ����ǹ �繵�

�ҡ�÷������������ͧ�ѹ��������ҡ����¹����ҡ�Ȩҡ��÷�ͧ����֡�Ҹ����ҵ��ͧ������¹���Թ������ͪ�蹪� ����������Ҿʹյ�ͧ���ͧ�ѹ��ٺ�ҧ��д������� ���з�������ҡ���Ҥ���һ���ѵ���ʵ���ԧ�

***********************
��ä�շ�ͧ����ǹ����¹�������͸ѹ�Ҥ� 2545 ���·���¡�÷�ͧ����������´�·��������Ҿ��Сͺ ��������͡�͹����ջѭ�ҫ��͡��ͧ�����ٻ �������¤Դ�ҡ�͹��ҡ���Թ�ҧ����ҹ���ѹ���դس����ҡ��������Ҽ�ҹ���...

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

  • หน้าแรก
  • ประวัติความเป็นมา
  • ปรัชญา/วิสัยทัศน์/พันธกิจ
  • โครงสร้าง
  • หน้าที่
  • บุคลากร
  • ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  • แผนพัฒนาบุคลากร
  • แผนปฏิบัติราชการ/งบประมาณ
  • แผนยุทธศาสตร์
  • แผนปฎิบัติงาน
  • สถาบันการศึกษา 3D
  • ภาพกิจกรรมสำนักฯ
  • ภาพผู้เข้าเยี่ยมชมวังฯ
  • ประกันคุณภาพ
  • ศิลปวัฒนธรรมสาร
  • เมืองจันท์น่ารู้
  • วังสวนบ้านแก้ว
  • คู่มือ/แนวปฏิบัติการ
  • หน่วยอนุรักษ์
  • กระดานข่าว
  • เว็บไซต์ลิงค์
  • สำหรับผู้ดูแลระบบข่าว
  • สำหรับผู้ดูแลระบบภาพกิจกรรม
  • สถาที่ตั้ง/ติดต่อ
  • รำไพฯ

Untitled Document Untitled Document

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

QR Code

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
Untitled Document
Untitled Document

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
ย้อนรอยเมืองจันทร์

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
ถอดรหัส

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
กกและเสื่อจันทบูร

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
บุรุษเผาพลอย

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
อาหารพื้นเมือง

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
ชาติพันธ์

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
ประเพณีความเชื่อ

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
ผลไม้เมืองจันท์

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
วัฒนธรรมพื้นบ้าน

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2
สมุนไพร

"ย้อนรอย" เมืองจันทบุรี

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

อาคารถนนสุขาภิบาล บริเวณบ้านท่าหลวง ปี 2447

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

ตลิ่งสูงชันของแม่น้ำจันทบุรี บางดอนในฤดูแล้ง

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

บ้านเรือนริมแม่น้ำจันทบุรี บริเวณบ้านลุ่ม (ท่าหลวง) ปี 2440

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

สมเด็จพระจุลจอมเกล้า เสด็จประทับเรือพระที่นั่งลำเล็ก
เพื่อเข้าคลองบางกะจะ เมือปี 2419

        เมืองจันทบุรีมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบันได้ผ่านกาลเวลามาหลายพันปี ตลอดเวลาที่ผ่านมามีทั้งเรื่องที่น่าตื่นเต้น ตกใจ และน่าดีใจ ถ้าเปรียบกับ นวนิยายก็เป็นนวนิยายที่เต็มไปด้วยสีสัน หลากหลายรส บทความนี้ จะพาท่านย้อนรอยเกี่ยวกับที่ตั้งของเมืองจันทบุรี ตั้งแต่มีการค้นพบหลักฐานมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
       
 ยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองจันทบุรีเท่าที่ค้นพบหลักฐานจัดอยู่ในยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ 2,000 - 3,000 ปี ทั้งนี้ได้มีการค้นพบหลักฐานใน 3 บริเวณ คือ อำเภอมะขาม เขาวง อำเภอท่าใหม่ และบ้านคลองบอน อำเภอโป่งน้ำร้อน ที่อำเภอมะขามค้นพบเครื่องมือหินขัด และเครื่องปั้นดินเผา บริเวณที่พบที่บ้านคลองบอนเป็นที่ราบเชิงเขา ซึ่งเป็นชุมชนค่อนข้างใหญ่ มีแหล่งน้ำและร่องน้ำที่อุดมสมบูรณ์ บริเวณใกล้เคียงพบถ้ำจำนวนมาก ชาวบ้านบริเวณนั้นพบขวานหินขัด เศษภาชนะดินเผา เครื่องมือเครื่องใช้ประเภทหินวางเรี่ยราดอยู่ในถ้ำ สันนิษฐานว่าบริเวณดังกล่าวแต่เดิมคงเป็นที่อยู่ของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ ต่อมาได้อพยพมาอยู่ที่ราบ ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณที่ราบพบลำธาร แอ่งน้ำตามแนวร่องน้ำพบหินกรวด และมีร่องรอยหินที่มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์เลือกมากระเทาะทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น ขวานหินขัด กำไลหิน เครื่องมือหินสำหรับขุดดิน นอกจากนี้บนพื้นที่ราบพบเศษภาชนะดินเผาลายเชือกทาบกระจายอยู่ทั่วไป
       
ยุคประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองจันทบุรีเท่าที่ค้นพบหลักฐาน อยู่ในช่วงประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12 คือ ปลายสมัยฟูนันได้ค้นพบเมืองโบราณเก่าแก่ที่ได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียมากว่า พันปีแล้ว ชาวบ้านเรียกว่าเมืองเพนียดบ้าง เมืองนางกาไวบ้าง ที่ตั้งเมืองโบราณกินบริเวณบ้านเพนียด บ้านสระบาป ตำบลคลองนารายณ์ อำเภอเมือง ตั้งอยู่บนที่ราบลอนลูกคลื่น ผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้างประมาณ 1 กิโลเมตร ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ในบริเวณดังกล่าวได้พบโบราณสถาน โบราณวัตถุที่เป็นสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และเศษภาชนะดินเผาจำนวนมาก หลักฐานดังกล่าวมีอายุตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 ซึ่งจัดเป็นศิลปะศาลาปริวัติ จนถึงยุคบายน
       
 จากหลักฐานดังกล่าวข้างต้น สันนิษฐานว่าพวกฟูนันหรือขอมได้เข้ามาตั้งถิ่นฐาน สร้างบ้านเรือน และศาสนสถานในเมืองจันทบุรี ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา เป็นพวกที่เดินทางเข้ามาทางเรือ นับถือศาสนาฮินดู พวกนี้อาศัยอยู่ตามที่ราบแนวคลองนารายณ์ และคลองสระบาป เป็นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์อยู่ระหว่างแม่น้ำจันทบุรีและเวฬุ สามารถติดต่อกับชุมชนอื่นได้สะดวก และสามารถออกทะเลได้ ฉะนั้นชุมชนดังกล่าวนอกจากจะมีชาวพื้นเมือง คือ พวกชองแล้ว คงมีคนชาติอื่นเข้ามาอาศัยด้วย เช่น อินเดีย พ่อค้าชาวฟูนัน เจนละ ขอม เนื่องจากร่องรอยโบราณ วัตถุที่พบเป็นลักษณะผสมผสาน ระหว่างวัฒนธรรมพื้นเมืองและวัฒนธรรมที่ได้รับจากอินเดีย ในสมัยที่ขอมเรืองอำนาจ เมืองจันทบุรีอาจจะตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมเรื่อยมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 เนื่องจากหลักฐานที่ปรากฏคือ การสร้างเพนียดไว้คล้องช้าง หรือขังช้าง การปรับเปลี่ยนศาสนสถานสมัยก่อนเมืองพระนคร ในเขตวัดทองทั่วให้เป็นปราสาท และศาสนสถานขอมสมัยเมืองพระนครมีทับหลัง และเสากรอบประตูแปดเหลี่ยมตลอดจนรูปเคารพ เช่น เทวรูปขอม ศิลาจารึกสมัยเมืองพระนคร ที่เมืองเพนียดที่สรรเสริญกษัตริย์แห่งกัมพูชา และการออกระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ นับตั้งแต่สามัญชน ขุนนาง เจ้านาย นักบวชพราหมณ์ ที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับศาสนสถาน พิจารณาจากที่ตั้งเมืองเพนียด คงเป็นเมืองท่าค้าขายทางทะเลที่สำคัญ เป็นเมืองท่าและรับซื้อสินค้าของป่าที่มาจากแผ่นดินทางตะวันออก แถบเทือกเขาบรรทัด ในขณะเดียวกันเป็นเมืองท่าที่นำ สินค้าจากเมืองไกลเข้าสู่แผ่นดินตอนในด้วย โดยเห็นได้จากร่องรอยเส้นทางโบราณจากจังหวัดจันทบุรีไปยังอำเภออรัญประเทศ เข้าสู่กัมพูชาทางตะวันออก เข้าสู่จังหวัดปราจีนบุรีทางทิศเหนือบริเวณดังกล่าวได้พบปราสาทหินแบบเขมร และจารึกตามแนวชายแดนไทยกัมพูชา นอกจากนี้ในเขตบ้านสะพานหก ตำบล ทับช้าง กิ่งอำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ได้พบแหล่งฝังศพ มีไห ถ้วยชามจีนสมัยราชวงศ์หยวน อิฐเป็นจำนวนมากฝังอยู่ ภายในมีไห มีหอกเหล็ก เครื่องประดับสำริด ลูกปัดแก้ว เครื่องถ้วยชามเหล่านี้คงจะนำมาจากเมืองเพนียด การเป็นเมืองท่าที่สำคัญทางการค้าคงจะทำให้ร่ำรวยจนสามารถสร้างศาสนสถานใหญ่โตได้ เมืองเพนียดนอกจากเป็นเมืองท่าที่สำคัญแล้วคงเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาควบคู่กันไป หรือเป็นเมืองของบรรพบุรุษที่ลูกหลานจะต้องเคารพบูชาให้ความสำคัญเพราะหลักฐานที่ปรากฏจะเป็นศิลปกรรมที่มีฝีมือสูง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของจันทบุรีในอดีต จากหลักฐานที่ปรากฏ ชุมชนเหล่านี้คงจะอยู่ใต้อิทธิพลขอมเรื่อยมาจนกระทั่งถึงพุทธศตวรรษที่ 18 เนื่องจากศิลปแบบบายนเป็นศิลปะขอมรุ่นสุดท้ายที่ปรากฎในเมืองจันทบุรี ภายหลังจากนี้เชื่อว่าเมืองจันทบุรีคงจะเป็นศิลปะรุ่นสุดท้ายที่ปรากฏในเมืองจันทบุรี ภายหลังจากนี้เชื่อว่าเมืองจันทบุรี คงจะเป็นอิสระจากอิทธิพลของขอม เมืองจันทบุรีเมื่อเป็นอิสระแล้ว ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าขึ้นอยู่กับสุโขทัยหรือไม่ ในสมัยอยุธยาอาณาจักรไทยทางฝ่ายใต้ ซึ่งมีราชธานีอยู่ที่เมืองสุพรรณบุรี (เมืองอู่ทอง) เข้ายึดเมืองจันทบุรีไว้ได้ เมืองจันทบุรีจึงถูกรวบรวมเข้ากับอยุธยาเรื่อยมา ทั้งนี้ปรากฏหลักฐานเมื่อพระเจ้าอู่ทองทรงสร้างกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 1893 ทรงประกาศว่ากรุงศรีอยุธยามีประเทศราช 16 หัวเมือง ซึ่งมีเมืองจันทบุรีอยู่ด้วยเมืองหนึ่ง
      
 เมืองจันทบุรีในสมัยอยุธยาเป็นเมืองขึ้นกับกรมท่าชั้นนอก เป็นเมืองที่มีความสำคัญทั้งทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ดังปรากฏหลักฐานดังนี้
       
ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ จดหมายเหตุของบาทหลวงเดอ ชัว ซีย์ รายงานว่าเมืองจันทบุรีเป็นเมืองท่าสำคัญทางชายทะเลตะวันออก มีสินค้าที่สำคัญ คือ พริกไทยและของป่าต่าง ๆ มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศจีน ลาว กัมพูชา และเกาะต่าง ๆ สมบูรณ์ไปด้วยงาช้าง ข้าว พริกไทย ครั่ง ยาสูบ หนังสัตว์ ฝ้าย การบูร ขี้ผึ้ง ดีบุก ไม้มีค่า ไข่มุก เพชรพลอย
      
 ความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์ เป็นเมืองที่คอยควบคุมเขมร ดังปรากฏในพระราช-พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศว่า ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกกองทัพไปตีเขมรพระองค์ทรงให้กองทัพเมืองจันทบูรคุมเรือ 150 ลำ ไปตีเขมร ปรากฏว่าเขมรถูกตีแตกยับเยิน ได้กวาดต้อนผู้คนลงมาถึง 30,000 คน ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2199 - 2231) เขมรเกิดจลาจล ทั้งไทยและญวนต่างเข้ามาแทรกแซง นับตั้งแต่นั้นมาเขมรกลายเป็นดินแดนกันชนระหว่างไทยกับญวนเรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมืองจันทบุรีกลายเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ในการส่งข่าว เหตุการณ์ในเขมรและญวนให้ทางส่วนกลางทราบและเป็นเมืองหน้าด่านทางตะวันออกที่คอยป้องกัน การรุกรานของเขมรและญวน ดังนั้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สันนิษฐานว่าทรงให้สร้างกำแพงเมืองป้อมคูเมืองหอรบตามแบบตะวันตกที่บ้านลุ่ม ปัจจุบันยังคงมีหลักฐานหลงเหลืออยู่บริเวณค่ายตากสิน ที่ตั้งของตัวเมืองจันทบุรีแห่งที่ 2 สันนิษฐานว่าน่าจะย้ายจากเมืองเพนียด ตั้งแต่ขอมหมดอำนาจในพุทธศตวรรษที่ 18 มาตั้งถิ่นฐานบริเวณบ้านหัววัง ตำบลพุงทะลาย (ปัจจุบันคือตำบลจันทนิมิต)ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำจันทบุรี ทั้งนี้คงจะเป็นเพราะเมืองเดิมมีภูเขา และแม่น้ำกระหนาบอยู่ไม่สามารถขยายเมืองให้ใหญ่ได้และคงจะเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ เดิมตัวเมืองคงจะตั้งใกล้ทะเลลึก เรือเดินทะเลเข้าจอดได้สะดวก ต่อมาฝั่งทะเลขยายตัวออกไป การเดินเรือไปยังตัวเมืองคงไม่สะดวกจึงจำเป็นต้องย้ายจากทะเลไปหาที่ตั้งใหม่ บริเวณตัวเมืองที่บ้านหัววัง ได้พบหลักฐานที่เป็นชุมชนเก่าแก่ มีร่องรอยศิลปกรรมสมัยอยุธยาตอนต้น ค้นพบใบเสมาหลายชิ้น และยังมีแนวคันดินที่ปรากฏร่องรอยให้เห็น ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวได้มีราษฎรเข้าไปสร้างบ้านเรือนอาศัยหมดแล้ว ที่ตั้งของเมืองจันทบุรีแห่งที่ 3 สันนิษฐานว่าย้ายจากหัววัง ตำบลพุงทะลายมายังบ้านลุ่มฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจันทบุรีประมาณพุทธศตวรรษที่ 23 ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ.2133 - 2148) ดังที่นิโคลัส เจอร์แวส (Nicolas Gervis) ผู้เขียนเรื่องเมืองไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้กล่าวถึงจันทบูร (Chanou Moeung Hang) ผู้มีฉายาว่าพระองค์ดำ ซึ่งเป็นผู้สร้างพิษณุโลกได้เป็นผู้ก่อตั้งเมืองนี้บนฝั่งแม่น้ำสายหนึ่ง ซึ่งมีชื่ออย่างเดียวกัน จันทบูรเป็นเมืองชายแดนของเขมร อยู่ห่างจากฝั่งทะเล เป็นระยะทางวันหนึ่งเต็ม ๆ  สาเหตุการย้ายจากบ้านหัววัง ตำบลพุงทะลายมายังบ้านลุ่ม คงจะเนื่องจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเล็งเห็นความสำคัญของเมืองจันทบุรีทางยุทธศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานการสำรวจของ พีรพน พิสณุพงศ์ ระบุว่า ที่เดิมเป็นที่ราบ ค่อนข้างลุ่ม มีน้ำท่วมขัง เมืองมีความคับแคบ ส่วนที่ใหม่เป็นที่ราบลาดสูงชัน เหมาะในการเป็นที่อาศัยและป้องกันเมือง เนื่องจากอยู่ห่างจากแม่น้ำจันทบุรีประมาณ 500 เมตร โดยมีหล่มคั่นอยู่ทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวเมืองเป็นคลองท่าสิงห์ และคลองท่าช้าง ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำจันทบุรี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองที่เป็นหล่มป่าชายเลน น้ำเค็ม ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันตก 1 กิโลเมตร มีคลองน้ำใสไหลจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองผ่านป่าชายเลนน้ำเค็มไปออกแม่น้ำจันทบุรีทางทิศใต้ลักษณะของภูมิศาสตร์ทางบ้านลุ่มดังกล่าว จึงเหมาะที่จะเป็นที่อยู่อาศัย และการป้องกันเมือง สำหรับเมืองจันทบุรีที่บ้านลุ่มนี้ตั้งเป็นที่ทำการของเจ้าเมืองมาจนกระทั่งถึง พ.ศ.2378 ในสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมืองจันทบุรีสมัยกรุงธนบุรีเป็นเมืองที่มีความสำคัญ ในฐานะที่เป็นฐานสำคัญในการ กอบกู้เอกราชจากพม่า การที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกเมืองจันทบุรีเป็นแหล่งพักฟื้น รวบรวมพล เสบียงอาหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ เพื่อกอบกู้เอกราช มีเหตุผลหลายประการคือ
     
1. ด้านยุทธศาสตร์ เนื่องจากที่ตั้งของเมืองจันทบุรีเป็นเมืองสำคัญ ชายทะเลตะวันออกที่สามารถติดต่อกับเมืองอื่น ๆ ได้สะดวก เช่น หัวเมืองปักษ์ใต้ เขมร ถ้ามีปัญหาในการทำสงครามสามารถหลบหนีได้ง่าย
     
2. ด้านเศรษฐกิจ เมืองจันทบุรีเป็นเมืองท่าที่สำคัญ และเป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ ฉะนั้นจึงสามารถรวบรวมเสบียงอาหารได้ง่าย ประกอบกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเคยเสด็จมา ค้าขาย ฉะนั้นจึงมีความชำนาญในเส้นทางดังกล่าว และพระองค์คงมีมิตรที่เป็นพ่อค้า ซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการรวบรวมพลเพื่อกอบกู้เอกราช
     
3. ด้านเชื้อชาติ เนื่องจากเมืองจันทบุรีมีชาวจีนแต้จิ๋วจำนวนมาก ซึ่งเป็นเชื้อชาติเดียวกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทำให้พระองค์ได้รับความช่วยเหลือจากกลุ่มชนเหล่านี้ ในการกอบกู้ เอกราช
       
ในระหว่างที่กรุงศรีอยุธยาตกอยู่ในวงล้อมของพม่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยศในขณะนั้นคือพระยาวชิรปราการ ได้รวบรวมสมัครพรรคพวกได้ประมาณ 500 คน ยกออกจากกรุงศรีอยุธยาทางด้านตะวันออกในวันเสาร์เดือนยี่ ขึ้น 6 ค่ำ ปีจอ พ.ศ.2309 มุ่งไปทางเมืองนครนายก เมืองปราจีนบุรี เมืองฉะเชิงเทรา เมืองชลบุรี และเมืองระยอง หลังจากที่ตีเมืองระยองได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ตั้งตนเป็นรัฐอิสระ ในขณะนั้นเนเมียวสีหบดี แม่ทัพพม่าที่ค่ายโพธิ์สามต้น ได้มีหนังสือบอกมาให้พระยาจันทบุรียอมอ่อนน้อม ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกันกับกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ทำให้พระยาจันทบุรี แข็งข้อต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเพราะมีกำลังเหนือกว่า และได้รับการสนับสนุนจากกรมการเมืองระยอง พระยาจันทบุรี ได้หาทางกำจัดสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยนิมนต์พระสงฆ์ 4 รูป นำเสด็จสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากเมืองระยอง พระองค์ได้เดินทัพเข้าจันทบุรี โดยทางบกใช้เวลา 5 วัน ถึงบ้านพลอยแหวน ตำบลบางกะจะ ซึ่งเป็นที่ตั้งชุมชนของชาวจีนที่มีขนาดใหญ่ พระองค์ได้ทราบข่าวว่า พระยาจันทบุรีมีความประสงค์ร้ายต่อพระองค์ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีตอนหนึ่งว่า
       
 ฝ่ายพระยาจันทบุรี จึงให้หลวงปลัดกับขุนหมื่นมีชื่อ ออกมานำทัพเป็นอุบายให้ กองทัพหลวงเลี้ยวไปทางใต้ตัวเมือง จะให้ข้ามน้ำไปฟากตะวันออกแล้วจะยกพลทหารออกโจมตีเมื่อข้ามน้ำ ครั้นทรงทราบจึงให้นายบุญมี มหาดเล็กขึ้นม้าควบไปห้ามทหารกองหน้ามิให้ไปตามหลวงปลัดนำนั้นให้กลับข้างขวางตรงเข้าประตูท่าช้าง เสด็จประทับพลตำบลวัดแก้ว ริมเมืองจันทบุรี จึงให้พลทหารตั้งกองทัพรอบพระวิหารวัดแก้ว ซึ่งเสด็จประทับอยู่นั้น"
       จากข้อความในพระราชพงศาวดารข้างต้น กองทัพสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเมื่อหยุดตั้งทัพที่บ้านพลอยแหวน ตำบลบางกะจะแล้ว ได้ยกทัพมายังตัวเมืองทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ ตามอุบายของพระยาจันทบุรีจะเข้าโจมตีเมื่อกองทัพข้ามน้ำไปฟากตะวันออก คงจะหมายถึงข้ามแม่น้ำจันทบุรีไปทางตะวันออก แต่พระองค์ทรงทราบอุบายเสียก่อน จึงให้นายบุญมี มหาดเล็กไปห้ามมิให้ทหารกองหน้าเดินตามหลวงปลัดกลับตรงเข้าประตูท่าช้าง ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือ ได้ประทับพลที่ตำบลวัดแก้ว ริมเมืองจันทบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ยื่นคำขาดให้พระยาจันทบุรีออกมาเจรจากันนอกตัวเมือง แต่ พระยาจันทบุรีไม่ยอมออกมา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชตระหนักว่ากองทัพของพระองค์อยู่ในที่คับขันเพราะอาจถูกข้าศึกโจมตีได้ พระองค์จึงตรัสสั่งทหารให้หุงอาหารรับประทานที่เหลือให้เททิ้ง พร้อมทั้งให้ทำลายหม้อข้าวหม้อแกงหมด พร้อมทั้งแจ้งแก่ทหารว่าในคืนนี้จะเข้าโจมตีเมืองจันทบุรี ไปหาข้าวกิน ในเมือง ถ้าตีไม่ได้ก็ให้ตายเสียด้วยกัน พระองค์โปรดให้ยกทัพบ่ายหน้าเข้าทางตะวันออกเฉียงเหนือ แล้วจัดทหารไทยจีนลอบเข้าไปประจำอยู่ทุกด้าน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสามารถยึดเมืองจันทบุรีได้สำเร็จ โดยเข้าตีเมืองจันทบุรีทางประตูท่าช้าง ทางทิศเหนือ ในคืนวันอาทิตย์ เดือน 7 ปีกุน พ.ศ.2310 ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาได้ 2 เดือน เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยึดเมืองจันทบุรีได้แล้ว ได้เข้ายึดเมืองตราดสามารถ ควบคุมชาวจีนที่เป็นเจ้าของเรือสำเภาได้ตลอดแนวทะเล และมีอำนาจเหนือริมฝั่งทะเลตะวันออกได้ทั้งหมด จากนั้นพระองค์ได้ต่อเรือรบ และรวบรวมอาวุธ เสบียงอาหาร พอถึงเดือน 11 ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยา ได้ 6 เดือน ทรงยกพลด้วยเรือรบ 100 ลำ กำลังพลไทยจีน 5,000 คน ออกจากเมืองจันทบุรีล่องไปตามลำน้ำจันทบุรีไปออกปากอ่าว และเลียบฝั่งทะเลเข้าปากน้ำเจ้าพระยา ตีค่ายพม่าที่กรุงธนบุรี หลังจากนั้นทรงยกกองทัพไปตีพม่าที่ค่ายโพธิ์สามต้นที่พระนครศรีอยุธยา สามารถขับไล่พม่าออกจาก กรุงศรีอยุธยา ภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาเป็นเวลา 7 เดือน เมืองจันทบุรีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การปกครองขึ้นกับกรมท่า ดังปรากฏในพระราชพงศาวดาร รัชกาลที่ 1 ของพระยาทิพากรวงศ์ว่า  ยังคงเป็นเมืองขึ้นกรมท่าอีก 8 เมือง คือ เมืองนนทบุรี1 เมืองสมุทรปราการ1 เมืองสาครบุรี1 เมืองชลบุรี1 เมืองบางละมุง1 เมืองระยอง1 เมืองจันทบุรี1 เมืองตราด1" เมืองจันทบุรีขึ้นกับกรมท่าจนกระทั่ง พ.ศ.2441 จึงโอนไปขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย
       จากการที่เมืองจันทบุรีมีความสำคัญทางด้านยุทธศาสตร์ในสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงทรงโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายเมืองจากบ้านลุ่มมาอยู่ที่บ้านเนินวง ใน พ.ศ.2378 เพื่อตั้งรับศึกญวน ซึ่งจัดเป็นที่ตั้งเมืองจันทบุรีเเห่งที่ 4 ทั้งนี้เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงปัญหาความสัมพันธ์กับญวน อันเกิดจากการแย่งชิงดินแดนลาวและเขมร ประกอบกับในปี พ.ศ.2377 ไทยได้ยกกองทัพไปตีญวนและยึดเมืองไซ่ง่อนได้ จึงทรงเกรงว่าญวนจะเข้ามาตีกรุงเทพฯ เนื่องจากที่ตั้งของเมืองจันทบุรีมีความสำคัญในการสกัดกั้นญวน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้า ฯ ให้สมเด็จพระบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเจ้าพระยาพระคลัง ออกมาสร้างกำแพงเมืองจันทบุรี พระยาพระคลังเห็นว่าเมืองเก่านั้นตั้งอยู่ลึกเข้าไปหลังหมู่บ้านราษฎร ถ้ามีข้าศึกมาทางน้ำก็จะถึงหมู่บ้านราษฎรก่อน จะไม่สามารถป้องกันได้ จึงได้รื้อป้อมกำแพงเมืองเก่าเสีย แล้วมาสร้างเมืองใหม่ที่บ้านเนินวงซึ่งตั้งอยู่บนที่สูง มีทำเลเหมาะในการตั้งฐานทัพไว้รับศึกญวน อยู่ระหว่างบางกะจะกับเมืองเก่า พร้อมกันนี้ได้โปรดเกล้าฯ ให้จมื่นราชามาตย์ต่อมาคือเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ รับไปดำเนินการก่อสร้างป้อมและซ่อมแซมป้อม โดยจมื่นราชามาตย์ได้ให้พระยาอภัยพิพิธ (ต่อมาเป็นเจ้าเมืองตราด) เป็นแม่กองสร้างป้อมที่แหลมด่านปากน้ำ 1 ป้อม คือ ป้อมไพรีพินาศ จมื่นราชามาตย์ได้ซ่อมแซมป้อมที่แหลมสิงห์ คือป้อมพิฆาตปัจจามิตร ป้อมดังกล่าวสันนิษฐานว่าน่าจะสร้างตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากสมัยนี้มีการติดต่อกับชาว ตะวันตก มีการค้าขายมาก และเมืองจันทบุรีเป็นเมืองที่มีความสำคัญทั้งทางด้านการค้าและยุทธศาสตร์ ด้วยเหตุผลดังกล่าวสมเด็จพระนารายณ์มหาราชคงจะโปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมขึ้น เพื่อเป็นจุดควบคุมการเข้าออกของเรือต่าง ๆ ที่เข้าออกเมืองจันทบุรี ป้อมนี้คงจะใช้งานมาตลอดจนกระทั่งเมื่อฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรี จึงได้สร้างตึกแดงทับลงป้อมพิฆาตปัจจามิตร สำหรับป้อมไพรีพินาศและป้อมพิฆาตปัจจามิตร มีดินดำและปืน เมื่อพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสเมืองจันทบุรี ทรงเห็นว่าป้อมดังกล่าวไม่ได้ใช้งานและดูทรุดโทรม จึงโปรดเกล้า ฯ ให้ขนปืนไปไว้ในเมือง ภายหลังที่สร้างเมืองใหม่ที่บ้านเนินวง เรียบร้อยแล้ว ทางราชการได้อพยพราษฎรจากเมืองเก่ามาอยู่ ปรากฏว่าราษฎรส่วนมากไม่เต็มใจอยู่เนื่องจากเมืองใหม่อยู่บนที่สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 30 เมตร และอยู่ห่างจากคลองน้ำใสซึ่งเป็นคลองที่แยกมาจากแม่น้ำจันทบุรีไม่น้อยกว่า 1 กิโลเมตร ทำให้ราษฎรไม่ได้รับความสะดวกในเรื่องน้ำที่จะบริโภค ปัญหาดังกล่าวทำให้ราษฎรส่วนใหญ่ยังคงอยู่ที่เมืองเก่า ส่วนผู้ที่อยู่บ้านเนินวงส่วนใหญ่จะเป็นข้าราชการ กรมการเมือง เจ้าเมือง ปัจจุบันบริเวณ ดังกล่าวเรียกว่า " บ้านทำเนียบ"

        
เนื่องจากราษฎรไม่เต็มใจที่จะไปอยู่ที่บ้านเนินวง เนื่องจากปัญหาขาดแคลนน้ำประกอบกับสงครามระหว่างไทยกับญวนได้สงบลง เมื่อญวนตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ราษฎรเลือกอยู่ได้ตามความสมัครใจ ยกเว้นจวนเจ้าเมืองยังคงอยู่บ้านเนินวง จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯให้ย้ายตัวเมืองกลับไปตั้งที่บ้านลุ่มตามเดิม ดังปรากฏหลักฐานที่ว่าราชการเมือง (ปัจจุบันคือสำนักงานป่าไม้จังหวัด) ที่ว่าราชการมณฑล(ปัจจุบันคือที่ทำการของมหาวิทยาลัยบูรพา) ศูนย์กลางของชุมชนเมืองได้ขยายจากบ้านลุ่มไปตาม ริมแม่น้ำจันทบุรี คือตลาดท่าหลวง หลังจากนั้นชุมชนได้ขยายตัวไปทางทิศใต้ของตลาดท่าหลวง บริเวณ ดังกล่าวจัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจของเมืองจันทบุรีในปัจจุบัน

เหตุผลของการเลือกจันทบุรีเป็นฐานทัพกอบกู้เอกราช ครั้งที่ 2

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงดำเนินการกอบกู้เอกราชอย่างไร

6 พ.ย พ.ศ. 2310 เมื่อเจ้าตากยกทัพเข้าตียึดเมืองธนบุรีและปราบนายทองอินได้แล้ว จึงได้เคลื่อนทัพต่อไปที่กรุงศรีอยุธยาเข้าตียึดค่ายโพธิ์สามต้น นำทัพรบพุ่งปราบพม่าจนราบคาบ โดยสามารถกอบกู้เอกราชได้สำเร็จภายในเวลา 7 เดือน นับตั้งแต่ที่เสียกรุงเมื่อปี พ.ศ. 2310 หลังจากนั้น พระองค์ได้ยกทัพกลับมาที่ธนบุรี ตั้งเมืองราชธานีใหม่ ณ ...

ข้อใดคือเหตุผลอันดับสุดท้ายที่พระเจ้าตากตัดสินใจเลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา

1) การตั้งเมืองหลวงใหม่อยู่ที่ธนบุรีไม่ห่างไกลจากอยุธยา การอยู่ที่เมืองธนบุรีก็เหมือนมีอำนาจอยู่ในกรุงศรีอยุธยา ฐานะย่อมไม่ต่างกัน 2) กรุงธนบุรีตั้งอยู่บริเวณที่มีลำน้ำลึกใกล้ทะเล แม้ว่าข้าศึกจะยกทัพมาทางบกหากไม่มีทัพเรือเป็นกำลังด้วยแล้ว ก็ยากที่จะมาตีเมืองธนบุรี 3) เมืองธนบุรีเป็นเมืองป้อมปราการและเป็นเมืองขนาดย่อม ...

เหตุผลที่พระยาตาก (สิน) ตัดสินใจย้ายที่ตั้งราชธานีใหม่ภายหลังจากกู้เอกราชได้แล้วเป็นเพราะอะไร

สำหรับเหตุที่ทรงเลือกที่นี่ เพราะกรุงธนบุรีเป็นเมืองขนาดเล็ก เหมาะสมกับกำลังป้องกันทั้งทางบกและทางน้ำ โดยตั้งอยู่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา สะดวกในการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ และยังสะดวกในการควบคุมการลำเลียงอาวุธและเสบียงต่างๆ ไปตามหัวเมืองหรือจากหัวเมืองเข้ามาช่วย เมื่อเกิดศึกสงคราม

เพราะเหตุใดสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงไม่ทรงเลือกเอากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธาน

๑.กรุงศรีอยุธยาชำรุดเสียหายมากจนไม่สามารถจะบูรณะปฏิสังขรณืให้ดีเหมือนเดิมได้ กำลังรี้พลของพระองค์มีน้อยจึงไม่สามารถรักษากรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองใหญ่ได้ ๒.ทำเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาทำให้ข้าศึกโจมตีได้ง่าย ๓.ข้าศึกรู้เส้นทางการเข้าตีกรุงศรีอยุธยาดี