ศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ หมายถึง

Page 29 - แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรม.-หน่วยที่-2

P. 29

ศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ หมายถึง

แบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้


                         หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ศักยภาพการประกอบอาชีพสู่อาเซียนและสากล

                               แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง การเลือกอาชีพตามศักยภาพของพื้นที่



                  ตัวชี้วัด

                         1. วิเคราะห์ธุรกิจตามศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่

                  ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและท าเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ศักยภาพของ
                  ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่ บน

                  เส้นทางของเวลา

                         2. ตัดสินใจเลือกขยายอาชีพตามศักยภาพ 5 ด้านได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
                  พื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและท าเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่

                  ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ

                  พื้นที่ได้เหมาะสมกับตนเอง

                         3. อธิบายความหมาย ความส าคัญ และความจ าเป็นของการพัฒนาอาชีพ เพื่อให้มีความมั่นคง
                         4. อธิบายการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง

                         5. อธิบายแนวทางกระบวนการเข้าสู่อาชีพได้

                         6. อธิบายแนวทางการพัฒนาอาชีพได้
                         7. สามารถสร้างงานตามกลุ่มอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างน้อย 1 อาชีพ


                  เนื้อหา

                        1. ความส าคัญของการประกอบอาชีพ

                        2. ลักษณะส าคัญของอาชีพในปัจจุบัน
                        3. กลุ่มอาชีพใหม่ที่ใช้ศักยภาพหลักพื้นฐานในการประกอบอาชีพ

                        4. กระบวนการเข้าสู่อาชีพและการพัฒนาอาชีพ

                        5. การพัฒนาอาชีพ
                        6. หลักการ และขั้นตอนของการพัฒนาอาชีพ











                                            ศักยภาพการประกอบอาชีพสู่อาเซียนและสากล                                หน่วยที่ 2

Page 14 - หน่วยที่ 3 บทที่ 5

P. 14

ศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ หมายถึง

98




            ตัด โดยมีร ามะนาเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะกับบทขับร้องภาษาท้องถิ่นคือภาษามลายู            เป็นกลอน
            โต้ตอบกัน

             การวิเคราะห์ศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ

                    1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ หมายถึง  สิ่งต่าง ๆ (สิ่งแวดล้อม) ที่เกิดขึ้นเองตาม

            ธรรมชาติและมนุษย์ สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น ้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า    แร่ธาตุ
            พลังงาน และก าลังแรงงานมนุษย์ เป็นต้น ดังนั้น การแยกแยะเพื่อน าเอาศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ

            พื้นที่เพื่อน ามาใช้ประโยชน์ในด้านการประกอบอาชีพต้องพิจารณาว่าทรัพยากรทางธรรมชาติที่จะต้องน ามาใช้

            ในการประกอบอาชีพในพื้นที่มีหรือไม่มีเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มี ผู้ประกอบการต้องพิจารณาใหม่ว่าจะประกอบ
            อาชีพที่ตัดสินใจเลือกไว้หรือไม่ เช่น การผลิตน ้าแร่ธรรมชาติ แต่ในพื้นที่ไม่มีตาน ้าไหลผ่านและไม่สามารถขุด

            น ้าบาดาลได้ ซึ่งผู้ประกอบการจะต้องพิจารณาว่ายังจะประกอบอาชีพนี้อีกหรือไม่ และถ้าต้องการประกอบ

            อาชีพนี้จริงๆเนื่องจากตลาดมีความต้องการมาก็ต้องพิจารณาว่าการลงทุนหาแร่ธาตุที่จะมาใช้ในการผลิตคุ้ม
            หรือไม่

                    2. ศักยภาพของพื้นที่ตามหลักภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะของลมฟ้าอากาศที่มีอยู่ประจ าท้องถิ่นใด

            ท้องถิ่นหนึ่งโดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิประจ าเดือน และปริมาณน ้าฝนในช่วงระยะเวลาต่างๆของปี

            เช่นภาคเหนือของประเทศไทยมีอากาศหนาวเย็นหรือเป็นแบบสะวันนา (Aw) คือ อากาศร้อนชื้นสลับกับฤดูแล้ง
            เ ก ษ ต ร ก ร ร ม   กิ จ ก ร ร ม ที่ ท า ร า ย ไ ด้ต่ อ ป ร ะ ช า ก ร ใ น ภ า ค เ ห นื อ   ไ ด้แ ก่   ก า ร ท า ส ว น

            ท าไร่ ท านา  และเลี้ยงสัตว์ภาคใต้เป็นภาคที่มีฝนตกตลอดทั้งปี ท าให้เหมาะแก่การปลูกพืชเมืองร้อน

            ที่ต้องการความชุ่มชื้นสูง เช่น ยางพารา ปาล์มน ้ามัน เป็นต้น ดังนั้นการประกอบอาชีพอะไรก็ตามจ าเป็น

            พิจารณาสภาพภูมิอากาศด้วย
                    3. ศักยภาพของภูมิประเทศและท าเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่และท าเลที่ตั้งใน

            แต่ละจังหวัด ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน เช่น เป็นภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่ม ที่ราบชายฝั่ง สิ่งที่เราต้องศึกษาเกี่ยวกับ

            ลักษณะภูมิประเทศ เช่น ความกว้าง ความยาว ความลาดชัน และความสูงของพื้นที่ เป็นต้น ซึ่งในการประกอบ
            อาชีพใดๆก็ตามไม่ว่าจะเป็นการผลิต การจ าหน่าย หรือการให้บริการก็ตามจ าเป็นต้องพิจารณาถึงท าเลที่ตั้งที่

            เหมาะสม

                    4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ จากการที่ประเทศ

            ไทยมีสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละภาค จึงมีความแตกต่าง
            กันในการด ารงชีวิตของประชากรทั้งด้านวัฒนธรรม ประเพณี และการประกอบอาชีพระบบการเกษตรกรรม

            สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม  (Agricultural  society)  กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80  ประกอบอาชีพ

            เกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า คนไทยส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตผูกพันกับระบบการเกษตรกรรม และระบบ
            การเกษตรกรรมนี่เอง ได้เป็นที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขก และ

            การละเล่นเต้นก าร าเคียว เป็นต้น

ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่หมายถึงอะไร

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่หมายถึง สิ่งตาง ๆ(สิ่งแวดลอม) ที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติและมนุษย สามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลังงาน และกําลังแรงงานมนุษย เปนตน ดังนั้น การแยกแยะเพื่อนําเอาศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่เพื่อนํามาใชประโยชน ...

ศักยภาพหลักของพื้นที่ หมายถึงอะไร

ศักยภาพหลักของพื้นที่ หมายถึง ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามหลักภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลที่ตั้งของแตละพื้นที่ ศักยภาพ ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละ พื้นที่

พื้นที่หลักในการพัฒนาอาชีพมีกี่พื้นที่

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ 2. ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ 3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ 4. ศักยภาพของศิลปวรรฒนธรรม ประเพณี องค์ความรู้ ภูมิปัญญา และวิถีชีตของแต่ละพื้นที่

การวิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านใดบ้าง

1.การตัดสินใจเลือกขยายอาชีพตามศักยภาพทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่ เพื่อการเข้าสู่อาชีพ