การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป

����ѵ���ʵ��  ������ʵ�� �ؤ���Ӥѭ �������з�ջ >>

�ó��Է�Ңͧ�����͡�š

�������͹���ͧ���͡�š
�蹸ó��Ҥ��С������͹���

1. �ͺ�蹸ó��Ҥ�¡�͡�ҡ�ѹ

�Դ�ҡ��ôѹ��Ǣͧ����� ������Դ����¡ ������Ҷ����͹������͹������͡�š�� ������س�������Ф����ѹŴŧ ��������͡�š��ش��ǡ������غ�ҷ�ش��������ҵ����������չ�� ����������Դ�繷��� ����Դ������¡������Դ��ͧ�֡ ����Ҩ֧����͹����á�ѹ������ա ������蹸ó��Ҥ�������ط��¡�ҡ价���ͧ��ҹ�Դ ��â��µ�Ǣͧ��鹷��� (Sea floor spreading) ��з�����Դ��͡�ҡ�ҧ��ط� �� ����dz����ᴧ ������Կ������ �Ϳ�ԡҵ��ѹ�͡ ���ѡɳ��غ�ҷ�ش ����ͧ����¡ �Դ�蹴Թ��ǵ��� ����������������������������ط�

2. �ͺ�蹸ó��Ҥ����͹����ҡѹ �� 3 Ẻ

  • �蹸ó��Ҥ�������طê��ѹ�Ѻ�蹸ó��Ҥ�������ط� �蹸ó��Ҥ�ա��˹�觨��شŧ���ա��˹�� ���¢ͧ�蹷���شŧ����������������� ��лзآ���� ���蹸ó��Ҥ�������ط� �Դ����������������ط� �������ͧ������֡ ���ǡ���Դ�蹴Թ��ǵ���ͺ�蹸ó��Ҥ�֡ŧ件֧��������š ��������俷���ѧ�վ�ѧ �� ���������������ҹ��� ������¹ ����� ���Ի�Թ��
  • ��蹸ó��Ҥ�������طê��Ѻ�蹸ó��Ҥ�Ҥ��鹷�ջ �蹸ó��Ҥ�������طë��˹ѡ�����ش���ŧ��ҧ��ҧ���蹸ó��Ҥ�Ҥ��鹷�ջ �Դ����ͧ���������Դ��͡�� ����Ǣͺ��ջ��������俪�½�� ����蹴Թ����ع�ç �� ����ԡ���ᶺ���ѹ��
  • �蹸ó��Ҥ�Ҥ��鹷�ջ���Ѻ�蹸ó��Ҥ�Ҥ��鹷�ջ ��觷���ͧ���դ���˹��ҡ �������˹���شŧ���ա��˹���¢���Դ����͡������������ҧ ��ջ�����蹸ó��Ҥ�Ҥ��鹷�ջ ����͡��������� 㹷�ջ����� ��͡����Ż� 㹷�ջ���û

3. �ͺ�蹸ó��Ҥ����͹����ҹ�ѹ

�Դ�ҡ�ѵ�ҡ������͹��Ǣͧ�����㹪�������š�����ҡѹ �֧������蹸ó��Ҥ����͹��������ҡѹ�����觼�������͡�š�����͡�� �������ط�����͹�ż�ҹ�����͹�ѹ �Դ���������͹��͹�йҺ��ҹ��ҧ��Ҵ�˭� �ѹ�ҡ�ҧ�����ط�����͹������������ѹ���� ���ѡɳ��������ᵡ᤺����շ�ȷҧ��駩ҡ�Ѻ��͡�ҡ�ҧ�����ط������ͧ ������֡ �ѡ���Դ�蹴Թ����ع�ç��дѺ���� �����ҧ�ͺ�ͧ�蹸ó��Ҥ����͹�¡ѹ �� �������͹�ҹ�͹����� ���������ԡ� �������͹������ ����ȹ�ǫ��Ź��

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป

�Ҿ��ê��ѹ : �����ҧ�蹸ó��Ҥ�������طáѺ�蹸ó��Ҥ�������ط�

��óҹء��

  • �׹�蹴Թ�˭�ѹ���.(2009).22 �Զع�¹ 2554,�ҡ http://geothai.net/2009/index.php
  • �������͹�ͧ���͡�š.(2009).23�Զع�¹ 2554,�ҡhttp://www.most.go.th/tsunami/index.php/earthquake/roy-promoted.html

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป

ค.แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปอีกแผ่นหนึ่ง เมื่อชนกันทำให้ส่วนหนึ่งมุดตัวลงอีกส่วนหนึ่งเกยอยู่ด้านบน เกิดเป็นเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาแอลป์ ภาพด้านล่าง

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป

3.ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
มักเกิดใต้มหาสมุทร ภาคพื้นทวีปก็มี เนื่องจากการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไมเท่ากัน ทำให้แผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ไม่เท่ากันด้วย เกิดการเลื่อนผ่านและเฉือนกัน เป็นรอยเลื่อนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ ภาพด้านล่าง

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป

สรุปการเคลื่อนที่แผ่นธรณีภาค

There are three main plate tectonic environments: extensional,transform, and compressional. Plate boundaries in different localities are subject to different inter-plate stresses, producing these three types of earthquakes. Each type has its own special hazards.

การเปลี่ยนแปลงของ แผ่นเปลือกโลก และธรณีวิทยา เป็นหนึ่งในสาขาของวิชาวิทยาศาสตร์ และมนุษย์ได้นำความรู้เรื่องนี้มาประยุกต์ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณีมาอย่างต่อเนื่อง

หลังการเย็นตัวลงของพื้นผิวโลก เมื่อ 4 พันล้านปีก่อน เกิดการยกตัวขึ้นของชั้นหินเหนือผิวน้ำจนแผ่นดินผืนแรกถือกำเนิดในอีกราว 2.5 พันล้านปีต่อมา ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน การเคลื่อนที่ของ แผ่นเปลือกโลก และมหาสมุทรไม่เคยหยุดนิ่ง ภายใต้พื้นผิวโลกมีความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ก่อให้เกิดภูมิประเทศและทรัพยากรอันหลากหลาย รวมถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ

จากการศึกษาหลักฐานทางธรณีวิทยา รวมถึงความพยายามในการจัดทำแผนที่โลกของนักวิทยาศาสตร์ในอดีต ส่งผลให้เกิดการลบล้างความเชื่อที่ว่า “แผ่นดินไม่เคยเกิดการเปลี่ยนแปลง” โดยเฉพาะการเสนอทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป (Theory of Continental Drift) ในปี1915

โดย อัลเฟรด เวเกเนอร์  (Alfred Wegener) นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน ที่สังเกตเห็นถึงความสอดคล้องกันของรูปร่างชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้และชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ทำให้เกิดการตั้งสมมุติฐานที่ว่า เมื่อราว 200 ล้านปีก่อน โลกประกอบด้วยแผ่นดินผืนเดียวที่เรียกว่า “มหาทวีป” หรือ “พันเจีย” (Pangaea) ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยมหาสมุทรขนาดใหญ่ และมหาทวีปนี้ประกอบไปด้วยดินแดนลอเรเซีย (Laurasia) ทางตอนเหนือและดินแดนกอนด์วานา (Gondwana) ทางตอนใต้ จนกระทั่งมหาสมุทรแอตแลนติกเกิดการขยายตัว ทำให้แผ่นดินเคลื่อนที่และแยกตัวออกจากกัน จนกลายเป็นทวีปและมหาสมุทรดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันนี้

แนวคิดเรื่อง “พันเจีย” ได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มากมาย โดยเฉพาะการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของมีโซซอรัส (Mesosaurus) ซึ่งสามารถพบได้เฉพาะในทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกา และไซโนกาทัส (Cynogathus) สัตว์เลื้อยคลานในยุคไทรแอสสิค (Triassic) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศบราซิลและในทวีปแอฟริกาเท่านั้น รวมถึงการค้นพบร่องรอยธารน้ำแข็งโบราณ และการขุดพบแหล่งถ่านหินและน้ำมันดิบในปัจจุบันที่แสดงให้เห็นว่าครั้งหนึ่งแผ่นดินทั้งหลายเป็นส่วนหนึ่งของมหาทวีป หรือพันเจีย

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป

แผ่นเปลือกโลก

หลังจากปี1999 เป็นต้นมา นักธรณีวิทยาได้ให้ข้อสรุปร่วมกันว่า แผ่นเปลือกโลก หรือแผ่นธรณีภาค มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาจากการขยายตัวของมหาสมุทร (Seafloor spreading) ส่งผลให้เกิดทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน (Plate Tectonics Theory) ซึ่งกลายเป็นทฤษฎีที่ได้รับการยอมรับที่สุดในการอธิบายถึงการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกในขณะนี้

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค

แผ่นธรณีภาค (Plate) คือ แผ่นเปลือกโลก (Crust) และเนื้อโลกชั้นบนสุด (Upper mantle) ซึ่งวางตัวอยู่บนฐานธรณีภาค (Asthenosphere) หรือชั้นเนื้อโลกที่ประกอบไปด้วยหินหลอมเหลวที่มีอุณหภูมิร้อนจัด การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคเกิดขึ้นจากการพาความร้อนของหินหนืดในชั้นเนื้อโลก เมื่อหินหนืดมีอุณหภูมิสูงขึ้นจากความร้อนภายในแก่นโลก จะเกิดการขยายตัวและลอยตัวขึ้นออกห่างจุดกำเนิดความร้อน แต่เมื่อหินหนืดมีอุณหภูมิลดลงจะเกิดการจมตัวลงกลับไปรับความร้อนอีกครั้ง เกิดเป็นวัฏจักรที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ได้ หรือที่เรียกว่า “กระบวนการธรณีแปลสัณฐาน” (Plate Tectonics)

แผ่นธรณีภาค ประกอบด้วยแผ่นธรณีภาคทวีป (Continental plate) และแผ่นธรณีภาคมหาสมุทร (Oceanic plate) และในปัจจุบัน โลกของเราประกอบด้วยแผ่นธรณีภาคขนาดใหญ่ 7 แผ่น ได้แก่ แผ่นธรณีภาคแปซิฟิก แผ่นธรณีภาคอเมริกาเหนือ แผ่นธรณีภาคอเมริกาใต้ แผ่นธรณีภาคยูเรเชีย แผ่นธรณีภาคแอฟริกา แผ่นธรณีภาคอินเดีย–ออสเตรเลีย และแผ่นธรณีภาคแอนตาร์กติก นอกจากนี้ ยังมีแผ่นธรณีภาคขนาดเล็กราว 8 แผ่นแทรกตัวอยู่ระหว่างแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ทั้งหลาย

ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

การเคลื่อนที่แยกจากกัน (Divergent) เกิดขึ้นบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีภาค ซึ่งโดยส่วนมากจะเกิดขึ้นใต้มหาสมุทร การแยกตัวออกจากกันนี้ ส่งผลให้เกิดร่องลึกใต้ทะเล (Oceanic trench) ที่ทำให้หินหนืดดันตัวขึ้นมาตามรอยแยกดังกล่าว ก่อนสัมผัสกับอุณหภูมิที่ชั้นเปลือกโลกและเย็นตัวลง จนกลายเป็นแนวสันเขาและแนวภูเขาไฟใต้มหาสมุทรในท้ายที่สุด แต่ถ้าหากการแยกตัวออกจากกันนี้ เกิดขึ้นบนพื้นทวีปจะก่อให้เกิดหุบเขาทรุด (Rift valley) เช่น เดอะ เกรท ริฟท์ วัลเลย์ (Great Rift Valley) ในทวีปแอฟริกา

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
เกรตริฟต์แวลเลย์ (The Great Rift Valley)

การเคลื่อนที่ชนกัน (Collision) เกิดขึ้นได้ 3 กรณี ได้แก่

เมื่อแผ่นธรณีภาคทวีปเคลื่อนที่ชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร และจากการที่แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรมีความหนาแน่นมากกว่า ส่งผลให้เมื่อปะทะกัน แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรจะมุดตัวลง ก่อให้เกิดร่องลึกใกล้ชายฝั่ง เช่น การชนกันของแผ่นธรณีภาคนาซคา (Nazca plate) และแผ่นธรณีภาคอเมริกาใต้ ก่อให้เกิดร่องลึกเปรู-ชิลีในอเมริกาใต้ นอกจากนี้ การมุดตัวลงของแผ่นเปลือกโลกลงไปถึงชั้นเนื้อโลก ยังก่อให้เกิดการหลอมละลายของเปลือกโลกที่มุดตัวลงอีกครั้ง ส่งผลให้หินหนืดดันตัวขึ้นมาตามรอยแยกจนกลายเป็นต้นกำเนิดของแนวภูเขาไฟอีกด้วย

การชนกันเองของแผ่นธรณีภาคมหาสมุทร ซึ่งแผ่นธรณีภาคที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะจมตัวลง โดยที่นักธรณีวิทยาจะเรียกบริเวณนี้ว่า เขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction zone) ซึ่งการมุดตัวลงนี้ ก่อให้เกิดร่องลึกใต้มหาสมุทร เช่นเดียวกับแนวภูเขาไฟที่ในภายหลังอาจยกตัวขึ้นมาเหนือผิวน้ำจนกลายเป็นหมู่เกาะรูปโค้ง (Island arc) และเป็นเขตที่เกิดแผ่นดินไหวได้ง่ายการชนกันเองของแผ่นเปลือกโลกทวีป ก่อให้เกิดแนวเทือกเขา เช่น การชนกันระหว่างแผ่นธรณีภาคอินเดีย–ออสเตรเลียและแผ่นธรณีภาคยูเรเชีย ซึ่งก่อให้เกิดการดันตัวขึ้นของชั้นหินบริเวณของแผ่นทวีปยูเรเซียกลายเป็นเทือกเขาหิมาลัย (Himalayan mountain ranges) และในปัจจุบันนี้ การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีภาคทั้งสองยังไม่ยุติ ส่งผลให้เทือกเขาหิมาลัยมีอัตราสูงขึ้นราว 5 เซนติเมตรในทุก 100 ปี อีกด้วย

  1. การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
    การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
    เทือกเขาหิมาลัย

การเคลื่อนที่ผ่านกันหรือสวนกัน (Transform) เนื่องจากหินหนืดใต้เนื้อโลก มีอัตราการเคลื่อนที่แตกต่างกัน ในแต่ละพื้นที่ จึงส่งผลให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วและทิศทางต่างกัน เมื่อแผ่นธรณีภาคทั้งสองเคลื่อนที่ผ่านกัน จึงทำให้เกิดรอยเลื่อนขนาดใหญ่ (Fault) เช่น รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัส (San Andreas Fault) ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นรอยเลื่อนที่มีความยาวกว่า 1,200 กิโลเมตร ที่เกิดจากการเคลื่อนที่สวนทางกันของแผ่นธรณีภาคแปซิฟิกและแผ่นธรณีภาคอเมริกาเหนือ

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกก่อให้เกิดภูมิประเทศที่หลากหลาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างชั้นหินและแผ่นเปลือกโลกอีกด้วย เช่น  รอยคดโค้ง (Fold) หรือ รอยเลื่อนในชั้นหินที่โค้งงอขึ้นจนกลายเป็นภูเขา ชั้นหินคดโค้งเกิดมากในชั้นหินตะกอน ซึ่งมีด้วยกัน 2 ลักษณะ คือ ชั้นหินโค้งรูปประทุนคว่ำ (Anticline) และชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย (Syncline) รวมถึงการเกิดรอยเลื่อน (Fault) จากความเค้น (Stress) และความเครียด (Strain) ของการรับแรงอัดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น การเกิดแผ่นดินไหวและการระเบิดของภูเขาไฟ

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
ลักษณะรอยคดโค้ง

ลักษณะของรอยเลื่อน

รอยเลื่อนในแนวดิ่ง (Dip-slip fault) ประกอบด้วย รอยเลื่อนปกติ (Normal fault) และรอยเลื่อนย้อน (Reverse fault) ก่อให้เกิดความสูงที่แตกต่างกันของแผ่นเปลือกโลกทั้ง 2 ฝั่ง ซึ่งจะทำให้เกิดหน้าผาสูงชันที่พังทลายได้ง่าย รวมถึงพื้นที่ราบที่เกิดจากการทรุดตัวตามแนวดิ่งของหน้าผาสูง (Graben) เช่น หุบเขาแม่น้ำไรน์ (Rhine Valley) ในเยอรมนี อีกด้านหนึ่งที่ยกตัวขึ้นสูง (Horst) จะก่อให้เกิดภูเขาบล็อก เช่น ภูเขาเซียร์ราเนวาดา (Sierra Nevada) ในสเปนและภูเขาแบล็คฟอเรสต์ (Black Forest) ในเยอรมนี

การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค สรุป
ภูเขาเซียร์ราเนวาดา (Sierra Nevada)

รอยเลื่อนในแนวราบ (Strike-slip fault) การเคลื่อนที่แนวนี้จะไม่ทำให้เกิดหน้าผาหรือหุบเขาทรุด แต่จะก่อเกิดรอยเลื่อนขนาดใหญ่หรือร่องลึกตามรอยเลื่อนของการเคลื่อนที่ เช่น รอยเลื่อนแซนแอนเดรอัสในสหรัฐอเมริกา

แผ่นธรณีภาคมีการเคลื่อนที่อย่างไรบ้าง

ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค 1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน 2. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน 3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน

รูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีทำให้เกิดอะไรขึ้นบ้าง

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกก่อให้เกิดภูมิประเทศที่หลากหลาย รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างชั้นหินและแผ่นเปลือกโลกอีกด้วย เช่น รอยคดโค้ง (Fold) หรือ รอยเลื่อนในชั้นหินที่โค้งงอขึ้นจนกลายเป็นภูเขา ชั้นหินคดโค้งเกิดมากในชั้นหินตะกอน ซึ่งมีด้วยกัน 2 ลักษณะ คือ ชั้นหินโค้งรูปประทุนคว่ำ (Anticline) และชั้นหินคดโค้งรูป ...

แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนหากันทำให้เกิดสิ่งใด

แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน (Convergent boundaries) เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีปะทะกันซึ่งเรียกว่า “เขตมุดตัว” (Subduction zone) การปะทะกันเช่นนี้ทำให้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่ระดับลึก (300 – 700 กิโลเมตร) และหากเกิดขึ้นในมหาสมุทรก็จะทำให้เกิดคลื่นสึนามิ เช่น สันเขาใต้สมุทรใกล้เกาะสุมาตรา และ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ...

เพราะเหตุใดแผ่นธรณีภาคจึงมีการเคลื่อนที่ เนื่องจาก

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกเกิดโดยพลังงานภายในของโลก ซึ่งโลกเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวจากดาวเคราะห์คล้ายโลก (terrestrial planet) ที่ “ยังไม่ตาย” ทางธรณีวิทยา การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกเกิดจากการที่สสารในชั้นฐานธรณีภาค (asthenosphere) เกิดการพาจากความร้อนภายในโลก การเคลื่อนตัวของชั้นฐานธรณีภาคทำให้ชั้นธรณีภาคชั้น ...