การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่ คือ

3. อภิปรายวาทีไม่แบ่งฝ่ายสนับสนุน หรือฝ่ายค้าน อย่างชัดเจน ใครมีความเห็นอย่างไรก็แสดงความคิดเห็นสนับสนุนในมุมมองของตนเองได้เลย

4. อภิปรายวาทีไม่จำกัดจำนวนคนที่จะร่วมอภิปรายดังนั้นทุกคน ทั้งห้องจึงมีสิทธิและมีโอกาสที่จะแสดงความคิดเห็น จนกว่าจะหมดคาบสอนหรือเวลาที่ครูกำหนดทำกิจกรรม จึงทำให้ นักเรียนมีส่วนร่วมมากกว่าการโต้วาที

5. อภิปรายวาที ไม่จำกัดว่าฝ่ายไหนจะพูดก่อนพูดหลัง หรือจำกัดเวลาพูด สามารถพูดสนับสนุนคนพูดก่อนหน้าได้แบบรัว ๆ ไม่ขาดตอน หากมีคนอยากแย้งหรือพูดต่อก็ยกมือจองคิวไว้ (ถ้าใช้ในห้องเรียนปกติ ครูอาจจะทำป้ายไว้ขอสนับสนุน หรือ ขอคัดค้าน ไว้ในห้อง 2-3 ป้าย เพื่อให้นักเรียนที่ต้องการแสดงความคิดเห็นได้เข้าคิวในการอภิปราย) ครูที่เป็นคนกำกับเวทีอภิปรายจะเปิดโอกาสให้แย้งต่อได้ทันทีที่คนนั้นพูดจบ

ตัวอย่างกิจกรรมอภิปรายวาที เรื่อง ผู้ใหญ่ในยุคดิจิทัล ตามไม่ทันกลลวงในโลกออนไลน์

ตัวอย่างกิจกรรมอภิปรายวาที เรื่อง อภิวัฒน์สยาม 2475 ประชาธิปไตยที่พร้อมเกิดขึ้นจริง หรือชิงสุกก่อนห่าม

ตัวอย่างกิจกรรมอภิปรายวาที เรื่อง การใช้โซเชียลออนไลน์แฝงภัยร้าย มากกว่าให้ประโยชน์

ตัวอย่างกิจกรรมอภิปรายวาที เรื่อง รักในวัยเรียนทำให้พากเพียรหรือเรียนไม่รู้เรื่อง

1.ครูให้หัวข้อและแหล่งการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น คลิปสั้น บทความสั้น อินโฟกราฟิก Podcast เป็นต้น ให้นักเรียนได้ศึกษา เตรียมความพร้อมไว้ก่อน

2.ครูปเปิดประเด็นการอภิปรายวาทีในห้องเรียนตามหัวข้อ บอกกติกาว่าใครจะแสดงความคิดเห็นในเชิงเห็นด้วยกับประเด็น เพราะอะไร ไม่เห็นด้วย เพราะอะไร มีตัวอย่างเพื่อเสริมน้ำหนักความคิดเห็นของเราอย่างไร มีเวลาการแสดงความเห็นตามเวลาที่ครูกำหนด ไม่จำกัดว่านักเรียนจะเห็นด้วยหรือไม่ ก็ได้

ดูตัวอย่างบางส่วนของการทำกิจกรรมได้ที่

facebook.com/krunut.satit/posts/2086949941443233

***ข้อควรระวัง

1. บางครั้ง นักเรียนแสดงความคิดเห็นยังน้อย ขาดตัวอย่างประกอบ หรือประเด็นนั้นไม่มีใครแย้งเลยหรือไม่มีใครต่อประเด็น ทำให้เกิดเดดแอร์หรือการเงียบระยะนาน ครูที่ดูแลการอภิปรายมีส่วนสำคัญจะกระตุ้น โดยตั้งประเด็นคำถามแย้งข้อมูล พูดในอีกมุมมอง เพื่อให้การอภิปรายหลากหลาย

และต่อเนื่อง อาจจะเหมือนร่วมวงแย้งกับนักเรียนได้ ก็สนุกดีนะครับ

2. นักเรียน อาจจะยังไม่คุ้นเคยหรือยังอ่อนในทักษะการแสดงความคิดเห็น แก้โดยวางกรอบการพูดคร่าว ๆ ให้นักเรียนดังนี้ >>> นักเรียนเห็นด้วยกับญัตติหรือสิ่งที่เพื่อนพูดหรือไม่ เพราะอะไรจึงมีความเห็นแบบนั้น มีตัวอย่าง ยกมาประกอบเหตุผลนั้นอย่างไร

การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่ คือ

การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่ คือ

     ปาฐกถาคือการพูดที่บุคคลคนเดียวแสดงถึงความรู้ความคิดเห็นของตนเองให้ผู้ฟังจำนวนมาก เป็นการพูดแบบบรรยาย หรืออธิบายขยายความให้ผู้ฟังได้เข้าใจเรื่องที่พูดอย่างแจ่มแจ้ง ดังนั้นผู้พูดจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านต่าง ๆ อย่างเชี่ยวชาญการพูด ปาฐกถาอาจจะเป็นการพูด เกี่ยวกับวิชาการก็ได้ หรือเป็นความรู้ทั่ว ๆ ไปก็ได้เช่นเดียวกัน แต่จะต้องมีการกำหนดหัวข้อเรื่องที่จะพูดไว้ล้วงหน้า ผู้ฟังอาจเป็นผู้กำหนดหัวข้อหรือผู้พูดกำหนดเอง ลักษณะพูดปาฐกถาไม่ใช่พูดสอนหรือบรรยายในห้องเรียนแต่เป็นการพูด ให้ผู้ฟังรู้เรื่องต่าง ๆ ในลักษณะการให้ความคิดเห็น การเสนอแนะ และการบอกเล่าเรื่องสำคัญผู้พูด หรือปาฐกจะต้องเตรียมตัวมาอย่างดี พูดตรงกับ หัวข้อเรื่องที่กำหนดให้ พูดอย่างตรงไปตรงมา และมีหลักฐานอ้างอิงให้ถูกต้องตามความเป็นจริงและสมเหตุสมผลถึงแม้ว่าการพูด ปาฐกถาจะมุ่งให้ความรู้แก่ผู้ฟังก็ตาม ก็ไม่ควรเน้น เนื้อหาสาระที่ยากและทา ให้ผู้ฟังเครียดจนเกินไป ควรใช้คำพูด ที่ง่าย ๆ เข้าใจง่าย และสร้างบรรยากาศให้สนุกสนานน่าสนใจด้วยการแทรกเรื่องเบา ๆ สลับบ้าง หากมีการอ้างสถิติ ตัวเลข ทฤษฎี หรือหลักเกณฑ์ต่าง ๆ จะต้องจดจา ให้แม่นยา หรือเขียนมาเพื่อกันความผิดพลาด แต่ให้อ่านโดยผู้ฟังไม่รู้สึกว่า เป็นการตั้งใจอ่าน ให้รู้สึกว่า ผู้พูดได้พูดตามปกติ

การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่ คือ

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

[RE: ธงชัย วินิจจะกูล: “ชาติ” แบบหน้าไหว้หลังหลอก]

อ้างปกป้องสถาบัน โดยไม่ดูมูลเหตุก็เป็นขวาตกขอบนะ
ถึงกระนั้นผมก็ไม่คิดโทษว่าประเทศเราย่ำอยู่กับที่เพราะตัวสถาบันเท่านั้น ซึ่งตอนนี้เป็นเรื่องดีที่ทุกคนหันมาแก้ด้านบนสุดแล้วค่อยๆขยับแก้กันจนถึงฐาน  

ผมกลับมองว่า ตอนนี้เรากำลังจะปลดล็อคต้นตอที่แท้จริง ของความไม่ปกติในประเทศเรารึป่าว
ปัญหาที่เรามองข้าม ปัญหาที่เราคิดว่าไม่ต้องแก้ อย่าไปยุ่ง หรือจริงๆแล้วสิ่งนี้คือต้นเหตุความผิดปกติ
รายละเอียดในข้อเรียกร้องล้วนเกิดขึ้นมาจากการตั้งข้อสังเกตและมองว่าสิ่งนั้นเป็นปัญหา
ที่ประเทศเรายังก้าวผ่านไปไม่ได้ แกนนำจึงเลือกหยิบหมากนี้มาเดิน
หลายๆคนที่เป็นห่วงก็มองว่าสิ่งนี้เร็วเกินไป ยังไม่ถึงเวลา ควรปลดล็อคแก้รัฐธรรมนูญก่อน
แต่ในอีกแง่หนึ่ง ถ้าเราไม่แก้ที่ต้นเหตุจริงๆ เราจะไปต่อได้จนสุดทางจริงๆหรือ ?
เพราะเหตุการณ์ก่อนหน้าได้มอบบทเรียนให้ประชาชนไว้อย่างดี
แม้จะได้รัฐบาลของประชาชนแล้วสุดท้ายก็ต้องล้มไป ความผิดปกตินี้เกิดจากอะไร ?

โดยส่วนตัวใน 10 ข้อ ผมสรุปได้ว่าเราต้องการ
1.ให้สถาบันกษัตริย์นั้นศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพด้วยความบริสุทธิ์ใจจริงๆ เป็นแบบอย่างของการปฏิบัติตัวตามกฏหมายตามรัฐธรรมนูญ
ไม่ใช่สิ่งที่ประชาชนเคารพแค่เพราะต้องเคารพ ซ้ำยังมีพฤติกรรมให้ถูกติฉินนินทาได้ลับหลังในหมู่ประชาชนทั่วไป
2.ให้มีเส้นหนึ่งขีดไว้เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกันว่าหากสถาบันไม่ ก้าวล่วง ข้ามเส้นมาข้องเกี่ยวกับระบบการปกครองตามระบอบของชาติเรานแล้วก็จะไม่มีใครยุ่งกับสถาบัน
ซึ่งที่ผ่านมาประชาชนอย่างเราๆล้วนมีคำถามมาตลอดว่าสถาบันที่พวกเราเคารพเทิดทูนท่านได้เป็นแบบที่พวกเราประชาชนต้องการจริงหรือไม่? ยกตัวอย่างประเด็นนี้ก็เช่น คำถามเกี่ยวกับการลงพระปรมาภิไธยรับรองรัฐประหาร ในข้อ 10 ตามคำเรียกร้อง

แก้ไขล่าสุดโดย TAKAMURA เมื่อ Thu Aug 13, 2020 21:31, ทั้งหมด 2 ครั้ง

หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน

การพูดปาฐกถา เป็นการพูดประเภทใด

๕.๑ ปาฐกถา คือ การพูดที่บุคคลคนเดียวแสดงถึงความรู้ความคิดเห็นของตนเองให้ผู้ฟังจ านวนมาก เป็นการ พูดแบบบรรยาย หรืออธิบายขยายความให้ผู้ฟังได้เข้าใจเรื่องที่พูดอย่างแจ่มแจ้ง มี๒ รูปแบบ คือ ๕.๑.๑ ปาฐกถาเดี่ยว : เป็นการบรรยายคนเดียว ๕.๑.๒ แบบเสวนา : เป็นการพูดคุย มีผู้ร่วมเสวนา จานวน ๒ - ๓ คน โดยมีพิธีกรเป็นผู้ดาเนินรายการ

การกล่าวปาฐกถาคืออะไร

การแสดงปาฐกถา คือ การพูดถึงความรู้ ความคิด นโยบายแสดงเหตุผล และสิ่งที่น่าสนใจผู้ที่แสดงปาฐกถา ย่อมต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริง ในเรื่องนั้น ๆ การแสดงปาฐกถาไม่ใช่การสอนวิชาการ แต่มีข้อเสนอแนะ หรือข้อคิดเห็นสอดแทรก และไม่ทำให้บรรยากาศเคร่งเครียด

การปาฐกถามีจุดมุ่งหมายอย่างไร

การฟังปาฐกถา เป็นการฟังเพื่อให้ผู้ฟังได้รับความรู้และความคิดจากผู้พูด บางครั้งอาจสอดแทรกความบันเทิงด้วย วิธีการฟังปาฐกถา

ผู้พูดหรือผู้แสดงปาฐกถา เรียกว่าอะไร

lecture. (เลค'เชอะ) { lectured, lecturing, lectures } n. คำบรรยาย, คำปราศรัย, คำปาฐกถา. vi. บรรยาย, ปราศรัย, แสดงปาฐกถา lecturer. (เลค'เชอะเรอะ) n. ผู้บรรยาย, ผู้ปราศรัย, ผู้แสดงปาฐกถา