ศิลาจารึกหลักที่ 1 จัด เป็น วรรณคดี ประเภท ใด

ศิลาจารึกหลักที่ 1 จัด เป็น วรรณคดี ประเภท ใด

ความหมายของคำประพันธ์
           คำประพันธ์ หมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ โดยมีกำหนดข้อบังคับต่างๆ เพื่อให้เกิดความครึกครื้นและมีความไพเราะ แตกต่างไปจากถ้อยคำธรรมดา ความเป็นมาของคำประพันธ์ไทย
ความเป็นมาของ คำประพันธ์
          คำประพันธ์ของไทยถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่ครั้งใด ไม่มีใครสามารถให้คำตอบได้ แต่ถ้าเชื่อตามที่เคยกล่าวกันมาว่าไทยเป็นชาตินักกลอนแล้ว คำประพันธ์ของไทยต้องมีมาก่อนที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราช จะทรงประดิษฐ์อักษรไทยในปี พ.ศ. ๑๘๒๖ แต่เป็นคำประพันธ์ที่บันทึกไว้ในสมอง และถ่ายทอดกันด้วยปาก หรือที่เรียกว่า "กลอนสด" นั่นเอง
          คำประพันธ์หรือบทร้อยกรอง มาปรากฏเป็นหลักฐานครั้งแรกในวรรณคดีเรื่อง "ลิลิตโองการแช่งน้ำ" หรือ "ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า" ซึ่งเชื่อกันว่าแต่งใน รัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง พ.ศ. ๑๘๒๙ - ๑๙๑๒) เป็นคำประพันธ์ประเภทโคลงกับร่าย
          ถ้าสังเกตดูในศิลาจารึกสมัยสุโขทัย หลักที่ ๑ จะมีลักษณะคำประพันธ์ หรือบทร้อยกรองเพราะจะเห็นลักษณะซึ่งเกิดจากการใช้คำคล้องจองกัน เช่น "ในน้ำมาปลา ในนามีข้าว" "เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย" "ไพร่ฟ้าหน้าใส"
          คำประพันธ์ไทยนี้ สำนักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ใช้เรียกวรรณกรรมประเภทที่มีลักษณะบังคับในการแต่ง หรือมีการกำหนดคณะว่า "ร้องกรอง" ควบคู่กันกับคำว่า "ร้องแก้ว" อันเป็นความเรียง
          คำประพันธ์ที่เรียกว่า ร้อยกรอง ในปัจจุบันนี้ โบราณเรียกกันหลายอย่าง เช่น "กลอน" ในลิลิตพระลอ" "กาพย์" ในกาพย์มหาชาติ"ฉันท์" ในลิลิตยวนพ่าย "กานท์" ในทวาทศมาส และอีกหลายอย่าง เป็นต้นว่า "บทกลอน" "กาพย์กลอน" "บทกวี" "กวีนิพนธ์" "กวีวัจนะ""บทประพันธ์" และ "คำประพันธ์"

ศิลาจารึกหลักที่ 1 จัด เป็น วรรณคดี ประเภท ใด

        http://yaneesrakaeo.blogspot.com/2011/07/blog-post_29.html

ศิลาจารึกหลักที่ 1 จัด เป็น วรรณคดี ประเภท ใด

          ���Ҩ��֡����ѡ�ҹ���ҧ˹�觷���þ��������ҳ���ҧ������Ͷ��·ʹ����ͧ������͹ت������ѧ���Һ����ͧ����Դ����ʹյ㹪�ǧ���ҷ���ա�è��֡���ҹ��� �͡�ҡ������Ҩ��֡�ѧ����ѡ�ҹ�Ӥѭ���ҧ˹��㹡���֡���Ԫһ���ѵ���ʵ�������ҳ��� ��èѴ�ӴѺ�����Ӥѭ�ͧ��ѡ�ҹ����͡�����ҧ�ԧ��� ��͡ѹ������Ҩ��֡���͡��â����Ż������ (primary source) ����դس�������ҧ�ԧ��
          ���Ҩ��֡��ҷ���ش��辺㹻������ ��ҷ������ѡ�ҹ�ҧ�ѡ�Ҫ��ҡ�������¤�� ���֡�ҹ��� ������ҹ��� �������ѭ����� �ѧ��Ѵ��Ҩչ���� ���ҧ���㹻վط��ѡ�Ҫ 1180 ���֡��辺�����㹻���������ѡ�õ�ҧ� �ѹ �� �ѡ�û����� �ѡ���ͭ��ҳ �ѡ�â����ҳ
          ���֡��褹�·Ӣ�鹻�ҡ���ѡ�ҹ㹵鹾ط�ȵ���ɷ�� 19 ����ͤ��¡�͵���ҳҨѡ���⢷�¢���ᶺ����������� ��͢ع������˧����Ҫ ��ѵ������ͧ���� 3 ����Ҫǧ����⢷�����д�ɰ��������¢��㹻վط��ѡ�Ҫ 1826 ������������Ҩ��֡��͢ع������˧����Ҫ (���Ҩ��֡��ѡ��� 1) �繨��֡�ѡ���·����ҷ���ش ���������ѡɳТͧ�ٻ�ѡ���·�����㴨������� �����Ҩ��龺���֡�ѡ���¨ӹǹ�ҡ㹷ء�Ҥ�ͧ������� ����ѡ�ҹ��ä鹾���ҡ���� ���֡����ҹ�����������������ҧ�ط�ȵ���ɷ�� 20 ŧ�ҷ����� �ٻ�ѡ����������⢷���������Ẻ�ͧ�ٻ�ѡ���·��������»Ѩ�غѹ
            ���֡�ٻ�ѡ�����¾�͢ع������˧����Ҫ�����Ѳ�ҡ���繨��֡�ٻ��ҧ� ��� 

ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หรือศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 เป็นจารึกหลักแรกที่ใช้ภาษาไทย และตัวอักษรไทย ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้ทรงประดิษฐ์ขึ้นในปี พุทธศักราช 1826 นับต่อเนื่องมาถึงในปีปัจจุบัน พุทธศักราช 2546 รวมระยเวลา 720 ปี

ลักษณะของศิลาจารึก เป็นแท่นหินชนวนสีขาว รูปทรงสี่เหลี่ยม ออกกลมมนมีความสูง 1 เมตร 11 เซนติเมตร ความหนา 35 เซนติเมตร มีจารึกทั้ง 4 ด้าน

ด้านที่ 1 มีอักษรจารึก 35 บรรทัด ด้านที่ 2 มีอักษรจารึก 35 บรรทัด ด้านที่ 3 มีอักษรจารึก 27 บรรทัด และด้านที่ 4 มีอักษรจารึก 27 บรรทัด ทุกหน้ามีรอยชำรุด ขีดข่วนและร่องรอยถูกกระเทาะ

มรดกแห่งความทรงจำ (Memorial of the World Project)

คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ประชุมเมื่อวันที่ 28-30 สิงหาคม (พ.ศ. 2546) ที่ผ่านมา ณ เมือง กแดนซค์ (Gdansk) ประเทศโปแลนด์ มีมติเห็นชอบให้องค์การยูเนสโกจดทะเบียนระดับโลก ศิลาจารึก หลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ภายใต้โครงการมรดกแห่งความทรงจำของโลก ทั้งนี้ถือว่าศิลาจารึกหลักที่ 1 เป็นหลักฐานที่มีความสำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ การปกครอง การค้า และวัฒนธรรมของอาณาจักรสุโขทัย ที่มีความสำคัญกับนานาชาติซึ่งโครงการมรดกความทรงจำของโลกนี้เป็นโครงการเพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่มรดกแห่งความทรงจำทีเป็นเอกสาร วัสดุหรือข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ เช่น กระดาษ สื่อทัศนูปกรณ์ และสื่ออีเล็กทรอนิกส์ด้วย โดยที่สิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวจะต้องมีความสำคัญ มีการเก็บรักษาให้อยู่ในความทรงจำในระดับนานาชาติและระดับภูมิภาค เมื่อองค์การยูเนสโก ได้ประกาศจดทะเบียนแล้ว ประเทศเจ้าของมรดก จะมีพันธกรณีทางปัญญาและทางศีลธรรม ที่จักต้องอนุรักษ์ให้อยู่ในสภาพที่ดี สามารถเผยแพร่ให้ความรู้แก่มหาชน อนุชนคนรุ่นหลังทั่วโลกให้กว้างขวางเพื่อให้มรดกดังกล่าวอยู่ในความทรงจำของโลกตลอดไป

ในปีนี้ (พ.ศ. 2546) กระทรวงศึกษาธิการมีแผนงานที่จะร่วมกับหน่วยงานทางการศึกษา สื่อสารมวลชน กระทรวงวัฒนธรรม และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จัดงานสมโภชในวาระครบ 720 ปี

ส่วนรูปแบบนั้นจะเน้นเรื่องการพิมพ์และการเผยแพร่ การจัดแปลเป็นภาษาต่างประเทศ การจัดนิทรรศการ การประชุม สัมมนาทางวิชาการ และกิจกรรมสำคัญอื่น ๆ เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจในความสำคัญของหลักศิลาจารึก ที่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ด้านการเมือง การปกครอง การค้า และวัฒนธรรมทุกด้านของไทยที่สืบทอดจากสมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน

สำนักหอสมุดกลางมหาวิทยาลัยรามคำแหงได้ตระหนักถึงคุณค่า ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ซึ่งเป็นเอกสารมรดกวัฒนธรรมอันล้ำค่าของไทย ภาคภูมิใจในประวัติ และเรื่องราวของสุโขทัย ภาคภูมิใจ ตระหนักถึงคุณค่าของภาษาไทย และความร่วมใจอนุรักษ์ภาษาไทย จึงได้จัดนิทรรศการ “720 ปีลายสือไทย” ขึ้น ณ บริเวณชั้น 1 อาคาร 1

และใคร่ขอเชิญชวนผู้สนใจ ชมนิทรรศการดังกล่าว หากท่านผู้ใดสนใจต้องการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม สำนักหอสมุดกลางมีหนังสือเกี่ยวกับสมัยสุโขทัยและหลักศิลาจารึกให้บริการที่ชั้น 2 และชั้น 4 อาคาร 1 หรือติดต่อสอบถามได้ที่ ประชาสัมพันธ์ สำนักหอสมุดกลาง โทร. 0-2310-8653 (ปี พ.ศ. 2560 เปลี่ยนเป็น โทร. 02-310-8661)

ศิลาจารึกเป็นวรรณคดีประเภทใด

ศิลาจารึก เป็นวรรณกรรมชนิดลายลักษณ์อักษรอย่างหนึ่ง อาศัยการบันทึกบนเนื้อศิลา ทั้งชนิดเป็นแผ่น และเป็นแท่ง โดยใช้โลหะแหลมขูดเนื้อศิลาให้เป็นตัวอักษร เรียกว่า จาร หรือ การจารึก ศิลาจารึกมีคุณค่าในเชิงบันทึกทางประวัติศาสตร์ ผู้จารึกหรือผู้สั่งให้มีศิลาจารึกมักจะเป็นผู้มีอำนาจ มิใช่บุคคลทั่วไป เนื้อหาที่จารึกมีความหลากหลาย ...

ศิลาจารึกหลักที่หนึ่งเป็นวรรณคดีเพราะเหตุใด

ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีคุณค่าทางวรรณกรรมมาก โดยเฉพาะด้านภาษาศาสตร์ เพราะเป็นต้นกำเนิดของภาษาไทยในปัจจุบัน ทั้งในแง่ของตัวอักษร วิธีการเขียน การใช้คำ และหลักภาษา นอกจากนี้ยังมีคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ความเชื่อ กฎหมาย การปกครอง ตลอดจนสภาพการณ์บ้านเมืองในอดีต และที่สำคัญ ศิลาจารึก หลัก ...

ศิลาจารึกหลักที่ 1 เป็นคำประพันธ์ประเภทใด

ถ้าสังเกตดูในศิลาจารึกสมัยสุโขทัย หลักที่ ๑ จะมีลักษณะคำประพันธ์ หรือบทร้อยกรองเพราะจะเห็นลักษณะซึ่งเกิดจากการใช้คำคล้องจองกัน เช่น "ในน้ำมาปลา ในนามีข้าว" "เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย" "ไพร่ฟ้าหน้าใส"

ข้อใดเป็นความสําคัญที่สุดของศิลาจารึกหลักที่ 1

ศิลาจารึกหลักนี้ช่วยให้เราได้ทราบถึงประวัติความรุ่งเรืองชองชาติไทยในยุคสุโขทัย และประวัติเรื่องราวอื่นๆ เช่น ประวัติราชวงศ์สุโขทัย ประวัติการรวบรวมอาณาจักรไทยให้เป็นปึกแผ่น ประวัติการค้าโดยเสรี ประวัติการสืบสร้างพระพุทธศาสนา และการประดิษฐ์ลายสือไทย ด้านภูมิศาสตร์